บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตั้งการทำงานบนระบบ Network และการใช้งานขั้นสูง
Advertisements

การอบรมโครงการ E-Classroom
ระบบอินเทอร์เนต สำหรับ User ไม่เกิน 1000 คน โดย นางสาวสายสุณี สังข์ทอง คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชา ฟิสิกส์ รหัสนิสิต
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสารสนเทศ มธ.
Wireless LANs.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
EDGE GPRS.
การสื่อสารข้อมูล.
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเข้าสู่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ผ่านเลขหมายเครือข่ายกาญจนาภิเษก ๑๕๐๙ โดย นาย ทวีศักดิ์ ชัยรัตนายุทธ์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ภาพโดยรวมของโครงการ e-Radio
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
SCOPIA Mobile User Training Mr. Theethat Sakthongchai Product Manager.
ขอความกรุณาแจ้ง รายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบ conference และบุคลากรดูแล ระบบ ทางเว็บไซต์ สพท. ละ 2 ท่าน ทุกรายการ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการ.
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
What’s P2P.
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
บริการโทรคมนาคม แบ่งเป็น 7 กลุ่มคือ 1. กลุ่มบริการสื่อสารข้อมูล 2. กลุ่มบริการ Internet 3. กลุ่มบริการ VAS 4. กลุ่มบริการ IT Security 5. กลุ่มบริการ e-Business.
CSC431 Computer Network System
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คู่มือการใช้งานโปรแกรม eqso
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
การเรียนรู้ Internet Explorer 6.0
การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ซอฟต์แวร์.
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Fix common PC problems จัดทำโดย นส. ฐิติชญา ถาวร เลขที่ 12 นส. สุรัญชนา หทัยสุวรรณกุล เลขที่ 33 เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการเทคโนโลยี
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
การใช้งานโปรแกรม internet. เปรียบเทียบความเร็วโปรแกรม internet google chrome เร็วกว่า fire fox fire fox เร็วกว่า internet explorer.
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Internet Service Privider
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หลักการบันทึกเสียง.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แนะนำ โปรแกรม Fring. แนะนำ โปรแกรม Fring รายละเอียดของโปรแกรม Fring ประเภท: เครือข่ายสังคม อัปเดตเมื่อ: 6 ม.ค เวอร์ชัน:  ขนาด: 13.0 MB.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
หน่วยที่ 1 ติดต่อสื่อสาร ค้นหา ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต.
สรุปปัญหาการใช้ ICT ในการเรียนการสอน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314 ความรู้การใช้ และการแก้ปัญหาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ระบบสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ระบบ e-Radio บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314

ความรู้การใช้โปรแกรม E-Radio

ประโยชน์ของระบบ e-Radio สามารถสื่อสารโดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกล สามารถสื่อสารผ่านระบบวิทยุคมนาคม ความสามารถในการถ่ายทอดเสียง การเชื่อมต่อเครือข่ายวิทยุระบบอื่นๆ เข้าด้วยกัน

โปแกรม e-Radio ที่นำมาใช้งาน สำหรับ Pc User สำหรับ RF Gateway

Pc User

Radio RF GateWay

การตั้งค่า Network สำหรับการเชื่อมต่อระบบเครื่อข่าย การเชื่อมต่อระบบ LAN การเชื่อมต่อระบบ Wireless LAN การเชื่อมต่อระบบ ADSL การเชื่อมต่อระบบ Aircard ผ่านระบบโทรศัพท์

การดาวน์โหลด Software ท่านสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ Server 203.157.12.251 แบ่งออกเป็น 2 แบบ สำหรับ Pc User สำหรับ Radio Link รุ่น RF Gateway

การทดสอบความเร็วระบบอินเทอร์เน็ต สามารถใช้การทดสอบผ่าน ระบบที่ http://speedtest.adslthailand.com

ผลการทดสอบความเร็วระบบ ADSL

ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio การเชื่อมต่อระบบ Server e-Radio ไม่ได้ เกิดจากการปิด Port สื่อสาร การเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตช้า ทำให้ระบบเสียงช้ากว่าปกติ ซึ่งปกติประมาณ 1 วินาที การเชื่อมต่อระบบไมโครโฟน และไม่สามารถสื่อสารด้วยเสียงได้ การสื่อสารผ่านระบบเสียง แล้วเกิดอาการ เสียงแตกรับฟังไม่ชัดเจน หรือเกิด oVer Modulater เกิดอาการเสียงเบาขณะพูดคุยผ่านระบบ e-radio เกิดจากไม่ได้ปรับสัญญาณไมมโครโฟน หรือไมโครโฟนรับสัญญาณได้อ่อน

ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio (ต่อ) 6. สัญญาณ VOX ทำงานค้างตลอดเวลา 7. เกิดสัญญาณรบกวนการใช้งานในห้องสนทนา เนื่องจากผู้ใช้งานไม่ตั้งใจ เช่น เปิดเพลงเข้าระบบ e-radio เปิด VCD หรือ DVD ทำให้เกิดเสียงเข้ามาในระบบ 8. เข้า Server ไม่ได้ เนื่องจาก Server หยุดทำงานชั่วคราวเกิดจากไฟฟ้าดับ หรือระบบอินเทอร์เน็ตไม่ทำงาน

ปัญหาการใช้โปรแกรม e-radio RF Gateway สัญญาณวิทยุคมนาคมของสถานี LINK ถูกรบกวน ทำให้ระบบเสียงเข้ามาที่ห้องสนทนาอยู่ตลอด สัญญาณเสียงที่ออกมาจากสถานี LINK แตกตลอดเวลาที่มีการใช้งาน สัญญาณเสียงที่รับเข้ามาในระบบเบามากๆ การเกิดอาการทำงานแบบไม่เสถียรภาพของสถานี LINK สถานี LINK เกิดสัญญาณรบกวนหลังการรับสัญญาณทุกๆ ครั้ง

การทำงานของ Radio Modem รับสัญญาณเสียงจากวิทยุคมนาคมผ่านทางแจ็คลำโพงภายนอก หรือภายในเครื่อง ควบคุมการส่งออกอากาศของเครื่องวิทยุคมนาคม โดยการควบคุม ผ่านโปรแกรม e-Radio รุ่น RF GateWay พร้อมกันกับการนำสัญญาณเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ออกไปยังเครื่องวิทยุคมนาคมผ่านทางสัญญาณไมโครโฟนของเครื่องวิทยุคมนาคม

การเชื่อมต่อ Radio Modem เพื่อใช้งานเป็นสถานี Link เชื่อมต่อสายสัญญาณ RS 232 ของ Radio Modem เข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อสายสัญญาณเสียงจาก Radio Modem ผ่านแจ็คไมโครโฟน(Mic) และแจ็คลำโพง (SP Out) เชื่อมต่อสายสัญญาณจาก Radio Modem กับแจ็คไมโครโฟนของเครื่องวิทยุคมนาคม (หากเชื่อมต่อผ่านไมโครโฟนจะไม่สามารถใช้งานตามปกติได้)

การปรับแต่งสถานี Link การปรับตั้งค่า SoftWare RF GateWay การปรับชุด Radio Modem และการตั้งค่า Volume เครื่องวิทยุคมนาคม เพื่อไม่ให้เสียงแตก และหากตั้ง Volume ไว้ต่ำเสียงจะเบา

การตั้งค่า SoftWare เข้าไปใน RigKeying Rig Control Method เลือก Com Port ก่อนหน้าอยู่ที่ VOX Com Port Keying เลือกค่าตามหมายเลขที่ใช้งานสามารถตรวจสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ มักจะเป็น COM1 หรือ COM2 เลือกสัญญาณ ควบคุมด้วยสัญญาณ RTS Carrier Operated Squelch เลือก VOX และเลือก Invert Voltage Click OK

การทดสอบการส่งออกอากาศด้วยโปรแกรม เมื่อตั้งค่า RigKeying เรียบร้อยแล้วจากนั้น จึงจะสามารถทดสอบการส่งด้วยโปรแกรมได้ Click Mouse ที่ Apply เครื่องวิทยุคมนาคมจะต้องส่งอากาศ พร้อมกับจะมีเสียง Tone ความถี่ที่ตั้งไว้ผสมไปด้วย

การทดสอบตามกลุ่มต่างๆ สร้างห้องสนทนาตามกลุ่ม เช่น กลุ่ม 1,กลุ่ม 2 ฯลฯ ใช้เวลาสนทนา 10 นาที ในกลุ่มเดียวกันติดต่อผ่าน PC ใช้เวลา 5 นาที ทำเป็นสถานี LINK ของทุกๆ กลุ่ม ใช้เวลา 10 นาที เรียกผ่าน PC To radio ใช้เวลา 10 นาที ทดสอบผ่านระบบ Radio To LINK ใช้เวลา 10 นาที รวม LINK มาอยู่ห้องเดียวกันใช้ชื่อว่า ห้องรวม ใช้วิทยุต่างความถี่ ความที่ใช้ตามกลุ่ม 1 เช่น กลุ่ม 1 ให้ ใช้ ช่อง 1 ฯลฯ ใช้เวลา 10 นาที

การดูแลสถานี LINK การดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ การดูแลวิทยุคมนาคม การดูแล Radio Modem การตรวจสอบความเร็วระบบอินเทอร์เน็ต

การทดสอบความชัดเจน ว 16 ไม่ ว2 เนื่องจากไม่อยู่หน้าเครื่อง หรือ กดเพื่อพูดไม่ทัน เกิดการกด เพื่อพูดซ้อนกัน ภารกิจงานอยู่ ไม่ตอบ Internet ช้ามากทำให้เกิดการหลุดออกจากระบบ การกด เพื่อพูดแล้วรอนานเกินไป ทำให้เกิดความไม่แน่ใจ ในการส่งข่าว หรืดทดสอบความชัดเจน อาจจะด้วยสาเหตุก่อนหน้านี้