เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ไข้เลือดออก.
แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
VDO conference dengue 1 July 2013.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ” ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ”
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก เนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ “รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ”
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
นวัตกรรมที่ได้รับการคัดเลือกให้จัดนิทรรศการ
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
ผลการดำเนินงาน EMS ปี 2551 ( ตุลาคม 50 – มิถุนายน 51) งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ.
วันที่ ๒ กันยายน ๕๖ ถึง ๗ กุมภาพันธ์ ๕๗. อำเภอจำนวน นักศึกษา เมือง 6 เขาย้อย 4 หนองหญ้าปล้อง 4 ชะอำ 5 ท่ายาง 6 บ้านลาด 6 บ้านแหลม 5 แก่งกระจาน 4 รวม 40.
งานนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สาขาโรคมะเร็ง.
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง War room 20 กพ.55

เตรียมความพร้อมเครือข่าย 15 มีนาคม 2555 เตรียมความพร้อมเครือข่าย

3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย 25-27 เมษายน 2555 3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย กลยุทธ์ป้องกันควบคุมโรคจากยุง War room 20 กพ.55

“โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555” แนวทางปฏิบัติ “โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555” Criteria 1. ทำในพื้นที่เสี่ยง 2. อายุเสี่ยง 15 ปี ลงมา 3. ทำในชุมชน เพื่อการควบคุมโรค โดย อสม. ใช้แถบวัดไข้ ทายา

3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย อสม. 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย 1. สำรวจบ้านทุกหลังที่รับผิดชอบที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (กลุ่ม 15 ปีลงมา) สำรวจสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะเชื้อ 2. ใช้ แถบวัดไข้ ถ้ามีไข้ (37.5 Co)ทายากันยุงต่อหน้า เซ็นชื่อใน รายงาน ให้ยาทากันยุง 1 โหล สเปรย์ 1 กระป๋อง ให้ยืมมุ้ง 1 หลัง 3. หากพบ ไข้ 38 Co เฉียบพลันเป็นมา 3 วัน กินยา เช็ดตัวไข้ไม่ ลด ปวดศีรษะ ส่งไป รพ.สต.เพื่อตรวจ หาเชื้อเบื้องต้น 4. ส่งรายงานให้ รพ.สต.ในวันนั้น 5. ถ้าทำเสร็จ 1 วัน วันที่ 2 วันที่ 3 เก็บตก War room 20 กพ.55

รพ.สต./รพ./เทศบาล 1. ชี้แจงทำความเข้าใจกับอสม. บทบาท หน้าที่ ภารกิจ 2. จัดซื้อ ยาทากันยุง สเปรย์ และมุ้ง โดยใช้เงินบำรุง 3. จัดหาทราย ทีมีฟอส 4. ตรวจ Rapid Test ในกรณีที่ อสม.คัดกรองมาให้ พบ Positive ควบคุมโรคทันที( 3 สัปดาห์) 6. ส่ง ผู้ป่วยไปตรวจยืนยันที่ รพ. 5. ส่งรายงานที่ อสม.ส่งมา ส่งให้ สสจ. Online ทุกวัน

สสอ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ 2. ประชุมชี้แจงจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ทุกแห่ง 3.ตรวจสอบการส่งราย Online ของรพ.สต. 4. ส่งทีม SRRT เข้าสนับสนุนควบคุมโรค 5. ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ 6.สรุปผลและสรุปบทเรียน

โรงพยาบาลเครือข่าย 1. รับส่งต่อผู้ป่วยอาการสงสัย 2. ให้การรักษาตามมาตรฐานอาการ ทางคลินิก+LAB 3.เป็นแม่เครือข่ายวิชาการพัฒนาความรู้

สสจ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการการ 2. ประชุมชี้แจงแนวทาง (15 มีค.55) 3. สนับสนุน แถบวัดไข้ และ Rapid Test 4. ทำช่องทาง รายงาน Online 5. สนับสนุนรายงานต้นแบบให้ 6. จัดทำคู่มือการดำเนินงาน

ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ 3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ 1.ฐานข้อมูลจาก รพ. มีรายงานผู้ป่วย ให้ควบคุมโรค 3 สัปดาห์( สวล. ทำลายแหล่ง กำจัดลูกน้ำ พ่น สารเคมี ทุกสัปดาห์ 3 สัปดาห์) 2. Rapid Test Positive

3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม 1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม 2.นำมาตรการสำคัญทั้งหมดลงดำเนินการใน พื้นที่ ต่อเนื่อง เข้มข้น 3. จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ลงบริการถึงชุมชน

การดำเนินงานรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จังหวัดเพชรบุรี 11 - 17 เมษายน 255 (7 วัน ) กลุ่มงานควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานเทศกาลสงกรานต์ บาดเจ็บ(ราย) (Admit) เสียชีวิต(คน) ปี พ.ศ. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เสียชีวิต 2551 60 69 4 2552 65 5 2553 61 53 2554 50 1 2555 47 หมายเหตุ กำหนดเป้าหมายโดยกระทรวงมหาดไทย (ลดจากผลงานปีที่ผ่านมาร้อยละ 5)

จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 24 จุด จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 24 จุด 1.เมืองเพชรบุรี จำนวน 4 จุด 2.ท่ายาง จำนวน 4 จุด 3.ชะอำ จำนวน 4 จุด 4.บ้านลาด จำนวน 3 จุด 5.เขาย้อย จำนวน 3 จุด 6.บ้านแหลม จำนวน 2 จุด 7.แก่งกระจาน จำนวน 3 จุด 8.หนองหญ้าปล้อง จำนวน 1 จุด

ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 7 วัน ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 7 วัน (11 เม.ย. 55 – 17 เม.ย. 55) ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด โรงพยาบาล รัฐบาล 8 แห่ง เอกชน 2 แห่ง (เพชรรัชต์ , เมืองเพชร-ธนบุรี) สสอ./รพ.สต. ปภ.บอ. 4 ภายในเวลา 24.00 น. ของทุกวัน ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี ตรวจสอบข้อมูลที่หน้า Web site 1 ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูล 2 ส่งข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการ ฯ ระดับจังหวัด 2 รายงานเฉพาะของ กระทรวงสาธารณสุข รายงานผ่าน Web site สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 1.นางบุญตา กลิ่นมาลี โทรศัพท์มือถือ 089-5080675 2.นายอนุชา ปิ่นเพชร โทรศัพท์มือถือ 084-9158415. 086-5756969 เหตุการณ์ ฉุกเฉิน รายงานอุบัติเหตุหมู่/อุบัติเหตุใหญ่ รายงานทางโทรศัพท์ (ทันที ตลอด 24 ชม.) 1.นพ.สสจ. 2.รอง นพ.สสจ. ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละวัน