เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง War room 20 กพ.55
เตรียมความพร้อมเครือข่าย 15 มีนาคม 2555 เตรียมความพร้อมเครือข่าย
3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย 25-27 เมษายน 2555 3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย กลยุทธ์ป้องกันควบคุมโรคจากยุง War room 20 กพ.55
“โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555” แนวทางปฏิบัติ “โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555” Criteria 1. ทำในพื้นที่เสี่ยง 2. อายุเสี่ยง 15 ปี ลงมา 3. ทำในชุมชน เพื่อการควบคุมโรค โดย อสม. ใช้แถบวัดไข้ ทายา
3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย อสม. 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย 1. สำรวจบ้านทุกหลังที่รับผิดชอบที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (กลุ่ม 15 ปีลงมา) สำรวจสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะเชื้อ 2. ใช้ แถบวัดไข้ ถ้ามีไข้ (37.5 Co)ทายากันยุงต่อหน้า เซ็นชื่อใน รายงาน ให้ยาทากันยุง 1 โหล สเปรย์ 1 กระป๋อง ให้ยืมมุ้ง 1 หลัง 3. หากพบ ไข้ 38 Co เฉียบพลันเป็นมา 3 วัน กินยา เช็ดตัวไข้ไม่ ลด ปวดศีรษะ ส่งไป รพ.สต.เพื่อตรวจ หาเชื้อเบื้องต้น 4. ส่งรายงานให้ รพ.สต.ในวันนั้น 5. ถ้าทำเสร็จ 1 วัน วันที่ 2 วันที่ 3 เก็บตก War room 20 กพ.55
รพ.สต./รพ./เทศบาล 1. ชี้แจงทำความเข้าใจกับอสม. บทบาท หน้าที่ ภารกิจ 2. จัดซื้อ ยาทากันยุง สเปรย์ และมุ้ง โดยใช้เงินบำรุง 3. จัดหาทราย ทีมีฟอส 4. ตรวจ Rapid Test ในกรณีที่ อสม.คัดกรองมาให้ พบ Positive ควบคุมโรคทันที( 3 สัปดาห์) 6. ส่ง ผู้ป่วยไปตรวจยืนยันที่ รพ. 5. ส่งรายงานที่ อสม.ส่งมา ส่งให้ สสจ. Online ทุกวัน
สสอ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ 2. ประชุมชี้แจงจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ทุกแห่ง 3.ตรวจสอบการส่งราย Online ของรพ.สต. 4. ส่งทีม SRRT เข้าสนับสนุนควบคุมโรค 5. ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ 6.สรุปผลและสรุปบทเรียน
โรงพยาบาลเครือข่าย 1. รับส่งต่อผู้ป่วยอาการสงสัย 2. ให้การรักษาตามมาตรฐานอาการ ทางคลินิก+LAB 3.เป็นแม่เครือข่ายวิชาการพัฒนาความรู้
สสจ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการการ 2. ประชุมชี้แจงแนวทาง (15 มีค.55) 3. สนับสนุน แถบวัดไข้ และ Rapid Test 4. ทำช่องทาง รายงาน Online 5. สนับสนุนรายงานต้นแบบให้ 6. จัดทำคู่มือการดำเนินงาน
ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ 3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ 1.ฐานข้อมูลจาก รพ. มีรายงานผู้ป่วย ให้ควบคุมโรค 3 สัปดาห์( สวล. ทำลายแหล่ง กำจัดลูกน้ำ พ่น สารเคมี ทุกสัปดาห์ 3 สัปดาห์) 2. Rapid Test Positive
3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม 1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม 2.นำมาตรการสำคัญทั้งหมดลงดำเนินการใน พื้นที่ ต่อเนื่อง เข้มข้น 3. จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ลงบริการถึงชุมชน
การดำเนินงานรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จังหวัดเพชรบุรี 11 - 17 เมษายน 255 (7 วัน ) กลุ่มงานควบคุมโรค
ผลการดำเนินงานเทศกาลสงกรานต์ บาดเจ็บ(ราย) (Admit) เสียชีวิต(คน) ปี พ.ศ. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เสียชีวิต 2551 60 69 4 2552 65 5 2553 61 53 2554 50 1 2555 47 หมายเหตุ กำหนดเป้าหมายโดยกระทรวงมหาดไทย (ลดจากผลงานปีที่ผ่านมาร้อยละ 5)
จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 24 จุด จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 24 จุด 1.เมืองเพชรบุรี จำนวน 4 จุด 2.ท่ายาง จำนวน 4 จุด 3.ชะอำ จำนวน 4 จุด 4.บ้านลาด จำนวน 3 จุด 5.เขาย้อย จำนวน 3 จุด 6.บ้านแหลม จำนวน 2 จุด 7.แก่งกระจาน จำนวน 3 จุด 8.หนองหญ้าปล้อง จำนวน 1 จุด
ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 7 วัน ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 7 วัน (11 เม.ย. 55 – 17 เม.ย. 55) ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด โรงพยาบาล รัฐบาล 8 แห่ง เอกชน 2 แห่ง (เพชรรัชต์ , เมืองเพชร-ธนบุรี) สสอ./รพ.สต. ปภ.บอ. 4 ภายในเวลา 24.00 น. ของทุกวัน ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี ตรวจสอบข้อมูลที่หน้า Web site 1 ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูล 2 ส่งข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการ ฯ ระดับจังหวัด 2 รายงานเฉพาะของ กระทรวงสาธารณสุข รายงานผ่าน Web site สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 1.นางบุญตา กลิ่นมาลี โทรศัพท์มือถือ 089-5080675 2.นายอนุชา ปิ่นเพชร โทรศัพท์มือถือ 084-9158415. 086-5756969 เหตุการณ์ ฉุกเฉิน รายงานอุบัติเหตุหมู่/อุบัติเหตุใหญ่ รายงานทางโทรศัพท์ (ทันที ตลอด 24 ชม.) 1.นพ.สสจ. 2.รอง นพ.สสจ. ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละวัน