การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
แนวทางการสนับสนุนยาและวัคซีน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
กลุ่มที่ 3.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป

การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคหัด ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด

การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค ระยะก่อนเกิดโรค 1. การให้วัคซีนตามกำหนดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (EPI routine และ EPI นักเรียน) 2. การเก็บตกในเด็กอายุก่อนวัยเรียน(<7 ปี) และเด็กนักเรียน (ป.1–ม.6) ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ 3. การรณรงค์ให้วัคซีนเสริมในเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กนักเรียน ที่ไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน หรือ ในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง เช่น เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส หรือ เด็กในกลุ่ม แรงงานต่างชาติ

การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค ระยะที่มีการระบาด 1.ในเด็กก่อนวัยเรียน  coverage rate >95% Catch up เฉพาะราย  coverage rate <95%หรือไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ Mop up เด็ก ≥ 9 เดือน - 6 ปีทุกราย ใน 72 ชม. 2.ในเด็กนักเรียน : ตรวจสอบหลักฐานการได้รับวัคซีนป. 1 Catch up หรือ Mop up

การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค ระยะที่มีการระบาด 3.ในผู้ใหญ่ เกิดก่อน พ.ศ. 2533 : ถ้าattack rate> 2 % หนังสือเบิกวัคซีน MMR+แบบประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุ เกิดตั้งแต่ พ.ศ. 2533 : ตรวจสอบประวัติวัคซีนป.1 ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ หนังสือขอเบิกวัคซีน MMR ห้ามให้วัคซีน MMR ในหญิงมีครรภ์

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น การระบาดของโรค............................................... สถานที่พบผู้ป่วย................................ ตำบล.............................................. อำเภอ............................................. จังหวัด............................................ วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก................/......./....... วันที่พบผู้ป่วยรายแรก.........../.........../............

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2) อัตราป่วยจำแนกรายกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ จำนวนทั้งหมด จำนวนป่วย Attack rate(%) 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3) จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก.................................ขวด วันที่เริ่มให้วัคซีน............./................/................... ผู้ให้ข้อมูล............................................................. สถานที่ทำงาน........................................................ เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน......................................... เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่......................................... วันที่ส่งแบบประเมิน............/.................../..............

การจัดหาและกระจายวัคซีน(ก่อนและหลังปี 2552) 9

สปสช. กรมคร. บทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีน (ปี 2553 ถึงปัจจุบัน) วัคซีนพื้นฐาน (EPI Routine & EPI นักเรียน) วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง Rabies vaccines สปสช. วัคซีนในการกำจัดกวาดล้าง โรคหัดและโปลิโอ ตามพันธะสัญญานานาชาติ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากร กลุ่มเสี่ยง วัคซีน ผู้เดินทางไปต่างประเทศ กรมคร.

การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีน MMR 2 ครั้ง ในเด็กอายุ 9-12 เดือน และเด็กชั้น ป.1 แล้ว ผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำให้ใช้วัคซีน MMR ในโครงการกำจัดโรคหัด กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป จึงจัดหาวัคซีน MMR ชนิด multiple dose(10 โด๊ส/ขวด) ซึ่งมีไวรัสคางทูมสายพันธุ์ Urabe

แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1) กรมควบคุมโรค และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรื่อง บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในวันที่ 23 มิถุนายน 2554 ที่ประชุมมีมติให้ กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีน OPV และ MMR ในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกำจัดโรคหัดตามพันธะ สัญญานานาชาติ ทุกกรณีที่ไม่ใช่การให้วัคซีน ตามระบบปกติ (EPI routine)

แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2) สปสช. รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุน วัคซีนอื่นที่ใช้ใน EPI routine (ยกเว้น OPV และ MMR) เพื่อรณรงค์เก็บตกให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน/ เด็กวัยเรียนที่ไม่ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ เพื่อรณรงค์ให้วัคซีนเสริมแก่เด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน หรือ ในกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดต่ออื่น เช่น โรคคอตีบ (DTP-HB, DTP, dT) สสจ. ส่งหนังสือขอเบิกไปยัง “สำนักโรคติดต่อทั่วไป” เพื่อพิจารณาก่อนแจ้งให้ “สปสช.สนับสนุนวัคซีน”

สรุปแนวทางการเบิกวัคซีนก่อนการระบาด/เมื่อมีการระบาด สสอ. ขอเบิก สสจ. รพ./สสจ. ขอเบิก MMR/OPV วัคซีนอื่น สรต. สปสช. GPO เห็นชอบ อนุมัติ

แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (1)

ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค พื้นที่รณรงค์หรือควบคุมโรค.................................. กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด (คน) ได้รับวัคซีน (คน) ความครอบคลุม(%) 0-1 ปี 1-5 ปี นร. ป1 นร. ป2 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม

แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2) หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ โทรศัพท์ 0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - ส่งทางรถไฟ รถทัวร์ หรือ บริษัทเอกชน

ขอบคุณค่ะ/ครับ