Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Programming With C Data Input & Output.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
โครงสร้าง ภาษาซี.
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ) ไกรฤกษ์ เชยชื่น, M.Eng. Electrical.

ทบทวน: คำสั่ง printf ใช้แสดงผล ออกทางหน้าจอ มีรูปแบบดังนี้ printf(“string_format”, data_list) เมื่อ string_format = ข้อความ + อักขระพิเศษที่ใช้แทนข้อมูล + escape character data_list = ข้อมูล หรือ ตัวแปรที่เก็บข้อมูลเอาไว้

การกำหนดรูปแบบสำหรับคำสั่ง Printf เลขจำนวนเต็ม %d = แทนเลขจำนวนเต็ม %5d = เลข 5 หมายถึงแสดงเลขจำนวนเต็มได้ 5 หลัก %-5d = - หมายถึงให้แสดงเลขชิดซ้าย และแสดงจำนวนเต็มได้ 5 หลัก %05d = แทนเลขจำนวนเต็ม 5 หลักถ้าจำนวนเต็มไม่ถึง 5 หลักให้ใส่เลข 0 ข้างหน้า

ตัวอย่าง : การกำหนดรูปแบบสำหรับคำสั่ง Printf ดัดแปลงโปรแกรม 1) ดัดแปลงโจทย์ใช้คำสั่ง printf ครั้งเดียว 2) ลองกำหนดตัวเลขใน Myint มากกว่า 6 หลัก

การกำหนดรูปแบบสำหรับคำสั่ง Printf เลขจำนวนจริง %f = แทนเลขจำนวนจริง %7f = เลข 7 หมายถึงแสดงเลขจำนวนจริงได้ 7 ตำแหน่ง %-5f = - หมายถึงให้แสดงเลขชิดซ้าย และแสดงจำนวนจริงได้ 5 ตำแหน่ง (รวมจุดทศนิยม 1 ตำแหน่ง) %5.2f = แสดงเลขจำนวนจริงได้ 5 ตำแหน่ง และใน 5 ตำแหน่งนี้ บังคับแสดงจุดทศนิยม 2 ตำแหน่ง %05.2f = คล้าย กับ %5.2f แต่ถ้าเลขจำนวนจริง (รวมจุดทศนิยม) มีไม่ถึง 5 ตำแหน่ง ให้เติม 0 ด้านหน้าจนครบ 5 ตำแหน่ง

ตัวอย่าง : การกำหนดรูปแบบสำหรับคำสั่ง Printf ดัดแปลงโปรแกรม 1) ดัดแปลงโจทย์ใช้คำสั่ง printf ครั้งเดียว 2) ลอง Myfloat = 35555.5555

การใช้ escape character ในคำสั่ง Printf รหัส ความหมาย \0 ค่าว่าง (Null character) \a ส่งเสียง 1 ครั้ง (bell) \b ถอยหลัง 1 ช่องตัวอักษร \f ขึ้นหน้าใหม่ (form feed) \n ขึ้นบรรทัดใหม่ (new line) \r เลื่อนเคอร์เซอร์ไปซ้ายสุด (carriage return) \t แท็บแนวนอน (horizontal tab) \v แท็บแนวตั้ง (vertical tab) \’ พิมพ์เครื่องหมาย ‘ \’’ พิมพ์เครื่องหมาย ‘’ \\ พิมพ์เครื่องหมาย \

ตัวอย่าง : การใช้ escape character ในคำสั่ง Printf ดัดแปลงโปรแกรม 1) ทำตามตัวอย่างที่ 7.7 หน้า 98

การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย คำสั่ง scanf (ย่อมาจาก scan formatted) รูปแบบ scanf(“string format”, address list); เมื่อ string format = อักขระพิเศษได้แก่ %d, %s, %c หรือ %f Address list = ตำแหน่งของหน่วยความจำที่จะเก็บข้อมูลที่รับเข้ามา การอ้างตำแหน่งในหน่วยความจำ ข้อมูลตัวเลข(ทั้งจำนวนจริงและจำนวนเต็ม) ต้องใช้  & (อ่านว่า ampersand) + ตัวแปร เช่น &Myint ข้อมูลตัวอักษร อ้างถึงตัวแปรได้โดยตรง เช่น Mychar

ตัวอย่าง : การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย คำสั่ง scanf พิมพ์ 159 แล้วกด Enter ดัดแปลงโปรแกรม: เปลี่ยนจาก scanf(“%d”,&x); เป็น scanf(“”,x);

ตัวอย่าง : การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย คำสั่ง scanf

การรับข้อมูลหลายๆ ข้อมูลด้วย scanf ใช้ ช่องว่าง(space) ขั้นข้อมูล ดัดแปลงโปรแกรม: เปลี่ยนจาก scanf(“%d%d%c”, …); เป็น scanf(“%d%d %c”, …); เพิ่ม int int3; scanf(“%d%d”, & int1, &int2, &int3); printf(“%d %d %d”, int1, int2, int3);

การรับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัวอักษร -ฟังก์ชัน scanf() -ฟังก์ชัน getchar() -ฟังก์ชัน getch() -ฟังก์ชัน getche() พิมพ์ตัวอักษรทีละตัวแล้วกด Enter โปรแกรมจะหยุดเมื่อพิมพ์ ตัว ‘s’

การรับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัวอักษร -ฟังก์ชัน scanf() -ฟังก์ชัน getchar() -ฟังก์ชัน getch() -ฟังก์ชัน getche() รูปแบบ: ตัวแปรชนิด char รับค่า = getchar(); ดัดแปลงโปรแกรม เปลี่ยน scanf(“%c”,&mychar) เป็น mychar = getchar(); getchar เหมือนกับ scanf

การรับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัวอักษร -ฟังก์ชัน scanf() -ฟังก์ชัน getchar() -ฟังก์ชัน getch() -ฟังก์ชัน getche() รูปแบบ: ตัวแปรชนิด char รับค่า = getch(); ดัดแปลงโปรแกรม เปลี่ยน scanf(“%c”,&mychar) เป็น mychar = getch(); กดตัวอักษรไม่ต้องกด Enter โปแกรมจบเมื่อกด ‘s’ getch  ป้อนตัวอักษรได้โดยไม่ต้องกด Enter และไม่แสดงว่าเรากดตัวอักษรอะไร

การรับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัวอักษร -ฟังก์ชัน scanf() -ฟังก์ชัน getchar() -ฟังก์ชัน getch() -ฟังก์ชัน getche() รูปแบบ: ตัวแปรชนิด char รับค่า = getche(); ดัดแปลงโปรแกรม เปลี่ยน scanf(“%c”,&mychar) เป็น mychar = getche(); กดตัวอักษรไม่ต้องกด Enter โปแกรมจบเมื่อกด ‘s’ getche  ป้อนตัวอักษรได้โดยไม่ต้องกด Enter และแสดงว่าเรากดตัวอักษรอะไรบ้าง

การแสดงข้อมูลตัวอักษร 1 ตัวอักษร -ฟังก์ชัน putchar(): รูปแบบ : putchar(ตัวแปร); หรือ putchar(‘ตัวอักษร’); putchar() ทำหน้าที่ เหมือน printf() แต่ใช้ได้กับตัวอักษรตัวเดียวเท่านั้น

การรับ-แสดง ข้อมูล string ด้วย gets และ puts รูปแบบ ฟังก์ชัน gets: ใช้รับ string ตัวแปรรับค่าชนิด string = gets(); รูปแบบ ฟังก์ชัน puts: ใช้แสดง string puts(ตัวแปรรับค่าชนิด string); หรือ puts(“ข้อความที่ต้องการแสดง”);

การรับ-แสดง ข้อมูล string ด้วย gets และ puts พิมพ์ชื่อ แล้ว กด Enter