Location Problem
ความสำคัญของการเลือกทำเลที่ตั้ง 1. การเลือกทำเลที่ตั้งมีผลระยะยาว 2. การเลือกทำเลที่ตั้งมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ทำไมต้องมีการวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง สาเหตุหลัก คือ ความต้องการในการเพิ่มความสามารถในการผลิต ซึ่งสามารถทำได้โดย ขยายพื้นที่ เพิ่มสาขา ย้ายโรงงาน
ขั้นตอนของการเลือกทำเลที่ตั้ง กำหนดเกณฑ์สำหรับการประเมินแต่ละทำเลที่ตั้ง กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกทำเลที่ตั้ง กำหนดทางเลือก ประเมินทางเลือกต่างๆ ตัดสินใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกทำเลที่ตั้ง ความใกล้กับทางสัญจร (Proximity to Highway) ความใกล้กับสนามบิน (Access to a Major Airport) แหล่งแรงงาน (Labor Supply) ความใกล้กับแหล่งตลาด (Nearness to Maket) ความใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ (Nearness to Raw Materials)
ความใกล้กับที่ตั้งขององค์การหลัก (Nearness to an Existing Plant) ที่ดิน (land) การขนส่ง (Transportation) แหล่งน้ำ (Water Supply) พลังงานและสาธารณูปโภคต่างๆ (Power Supply ) สภาพอากาศ (Climate) บริเวณสำหรับพักอาศัย (Residential Areas)
เทคนิคสำหรับวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง Qualitative Analysis Quantitative Analysis
วิธีการให้น้ำหนักความสำคัญ กำหนดปัจจัยที่จะทำการพิจารณา ทำการให้น้ำหนักคะแนนแต่ละปัจจัย กำหนดสเกลสำหรับการให้น้ำหนักคะแนนแต่ละทำเลที่ตั้ง ให้คะแนนแต่ละทำเลที่ตั้งจากทุกๆ ปัจจัย ทำการรวมคะแนนของแต่ละทำเลที่ตั้ง เลือกทางเลือกที่ให้คะแนนสูงสุด
จงทำการวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้งของทางเลือก 2 ทางเลือก โดยใช้ วิธีการให้น้ำหนักความสำคัญ
วิธีการให้ระดับคะแนน
วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 1. กำหนดค่าใช้จ่ายคงที่ (Fixed Cost) และ ค่าใช้จ่ายแปรผัน (Variable Cost) ของแต่ละทำเล 2. หาความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่ายรวม (Total Cost) กับค่าใช้จ่ายคงที่และ ค่าใช้จ่ายแปรผัน และทำการวาดกราฟของค่าใช้จ่ายรวมของทุก ๆ ทำเล ที่ตั้งลงบนกราฟชุดเดียวกัน TC = ค่าใช้จ่ายรวม FC = ค่าใช้จ่ายคงที่ VC = ค่าใช้จ่ายแปรผัน/หน่วย Q = ปริมาณการผลิตต่อหน่วยเวลา TC = FC + (VC x Q)
3. ทำการหาดูว่าทำเลที่ตั้งใดให้ค่าใช้จ่ายต่ำสุดในปริมาณการผลิตที่ คาดหมายไว้
จงเขียนกราฟของค่าใช้จ่ายรวมของแต่ละทำเลที่ตั้ง ตัวอย่าง ค่าใช้จ่ายคงที่และค่าใช้จ่ายแปรผันของทำเลที่ตั้ง 4 แห่ง คือ ก ข ค และ ง ดังตารางข้างล่าง จงเขียนกราฟของค่าใช้จ่ายรวมของแต่ละทำเลที่ตั้ง กำหนดจุดคุ้มทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ถ้าคาดว่าปริมาณการผลิตเป็น 8,000 ชิ้น/ปี ควรเลือกทำเลที่ตั้งใด
การหาจุดตัดระหว่างกราฟ ทำเล ข กับ ทำเล ค ทำได้โดย TCข = TCค 100,000+30Q = 150,000+20Q จะได้ว่า Q = 5,000 ชิ้น/ปี การหาจุดตัดระหว่างกราฟ ทำเล ค กับ ทำเล ก ทำได้โดย TCค = TCก 150,000+20Q = 250,000 + 11 Q จะได้ว่า Q = 11,111 ชิ้น/ปี
ถ้าทำการผลิต 0 - 5,000 ชิ้น/ปี ควรเลือกทำเลที่ตั้ง ข จึงจะทำให้ค่าใช้จ่ายรวมต่ำสุด ถ้าทำการผลิต 5,000-11,111 ชิ้น/ปี ควรเลือกทำเลที่ตั้ง ค จึงจะทำให้ค่าใช้จ่ายรวมต่ำสุด ถ้าทำการผลิตมากกว่า 11,111 ชิ้น/ปี ควรเลือกทำเลที่ตั้ง ก จึงจะทำให้ค่าใช้จ่ายรวมต่ำสุด ดังนั้น ถ้าคาดว่าปริมาณการผลิตเป็น 8,000 ชิ้น/ปี ควรเลือกทำเลที่ตั้ง ค
กรณีที่ 1. ถ้าทางโรงงานกำหนดว่าเลือก ทำเล ที่ตั้งใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตในช่วง ระหว่าง 4000-8000 ชิ้นต่อปี จงหาคำตอบของการเลือกทำเลที่ตั้ง กรณีที่ 2 จากกรณีที่ 1 ถ้า ผลการวิเคราะห์จากการวิเคราะห์เชิงคุณภาพพบว่า คะแนน ทำเล ก=55 ทำเล ข=60 ทำเล ค=65 ทำเล ง= 45 จงหาคำตอบของการเลือกทำเลที่ตั้ง
กรณีที่ 3 จากกรณีที่ 1 ถ้า ผลการวิเคราะห์จากการวิเคราะห์เชิงคุณภาพพบว่า คะแนน ทำเล ก=55 ทำเล ข=60 ทำเล ค=65 ทำเล ง= 70 จงหาคำตอบของการเลือกทำเลที่ตั้ง