33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
การพัฒนาระบบบริหารภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
การจัดระเบียบทางสังคม
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 11
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 9
องค์การและการบริหาร Organization & Management
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
The General Systems Theory
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
2. ระดับในการบริหารงานแบ่งแยกได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
บทที่1 การบริหารการผลิต
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับกรม
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
แนวคิดทาง รัฐประศาสนศาสตร์
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 1 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร 1. Woodrow Wilson - ประเทศเจริญก้าวหน้า จะมีระบบราชการที่มี ประสิทธิภาพและมีเหตุผล - สามารถสร้างหลักการบริหารที่ดี ที่นำไปใช้กับทุก รัฐบาลได้ (one rule of good administration for all government alike) - การบริหารแยกจากการเมืองเด็ดขาด 2. Frank Goodnow - หน้าที่ทางการเมืองแยกจากหน้าที่ทางการบริหารได้ 3. Leonard D. White - การเมืองไม่ควรเข้ามาแทรกแซงการบริหาร

นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิด การจัดการทางวิทยาศาสตร์ Frederick Taylor เสนอ “หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)” ประกอบไปด้วย - ค้นหาหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ได้ จากการทดลองหาวิธีที่ดีที่สุด (one best way) - การคัดเลือกคนทำงานตามกฎเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ - การพัฒนาคนทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ - ให้ความสำคัญต่อการสร้างความร่วมมือในการ ทำงาน (friendly cooperation) ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดหลักการบริหาร 1. Mary Parker Follet - การมองความขัดแย้งในแง่ดี - การออกคำสั่งอย่างมีศิลปะ - เรื่องขององค์กรเป็นความ รับผิดชอบของทุกฝ่าย - หลักการประสานงาน 2. Mooney & Reiley - หลักการประสานงาน - หลักลำดับขั้นการบังคับบัญชา - หลักการแบ่งงานตามหน้าที่ - หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Line & Staff 3. Gulick & Urwick - การประสานงานโดยกลไก การควบคุมภายใน - การจัดโครงสร้างภายใน องค์การ - หน้าที่ของฝ่ายบริหาร : POSDCORB - การประสานงานของ หน่วยงานย่อย - การประสานงานโดยการผูกมัด ทางใจ

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการบริหารคือการเมือง 1. Avery Leiserson – การบริหารงานของภาครัฐอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ 2. Paul Henson Appleby 1) การบริหารงานของรัฐ แท้จริงเป็นเรื่องของการเมือง 2) นักบริหารภาครัฐจะต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง 3) ให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาแข่งขันในการกำหนดนโยบาย สาธารณะ (Administrative Pluralism) 4) นักบริหารภาครัฐจะต้องมีจรรยาบรรณ (Administrative Platonism) 3. Norton E. Long - การบริหาร คือ การเมือง

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ 1. Robert Mitchels - Goal Displacement - Iron Law of Oligarchy 2. Robert Merton - การยึดกฎระเบียบราชการ 3. Alvin A. Gouldner - บทบาทขององค์การไม่เป็นทางการ 4. Phillip Selznick - Grass-Root Democracy - Cooptation

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดศาสตร์การบริหาร 1. Chester I. Barnard : The Functions of the Executives - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร - ฝ่ายบริหารจะต้องตัองตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายใน กรอบศีลธรรม 2. Herbert A. Simon - เห็นว่าแนวคิดหลักการบริหาร มีความขัดแย้งกัน - หัวใจสำคัญที่สุดของการบริหาร คือ การตัดสินใจ - นักบริหารบางครั้งไม่สามารถตัดสินใจอยู่บนความมีเหตุผล สูงสุด (maximize) ได้ แต่จะต้องตัดสินใจอยู่บนข้อจำกัด ทำให้การตัดสินใจจะต้องอยู่บนเกณฑ์ความพอใจ (satisficing)