ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
การฝึกอบรม โครงการจัดทำระบบคลังข้อมูลสาธารณภัย
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สมบัติของสารและการจำแนก
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
พันธะเคมี Chemical bonding.
การทดลองที่ 5 Colligative property
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
Periodic Table.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
การจำแนกประเภทของสาร
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
การหักเหของแสง (Refraction)
พันธะเคมี.
แผนการจัดการเรียนรู้
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง - โมเลกุลเรียงชิดติดกัน - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีมาก - โมเลกุลเรียงชิดติดกัน - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีมาก - โมเลกุล เป็นระเบียบ เคลื่อนไหวได้น้อย - ช่องว่างระหว่างโมเลกุล มีขนาดเล็ก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของเหลว - โมเลกุลจัดเรียงตัวกันอย่างหลวมๆ - โมเลกุลจัดเรียงตัวกันอย่างหลวมๆ - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย - อนุภาคสามารถเลื่อนที่ได้อย่างอิสระ - ช่องว่างระหว่างโมเลกุลมาก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

แก๊ส - โมเลกุลอยู่กระจายตัวห่างกันมาก - โมเลกุลอยู่กระจายตัวห่างกันมาก - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย - โมเลกุลเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ - ช่องว่างระหว่างโมเลกุลมาก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

เราสามารถพบสารได้ทั้งสามสถานะ Three elements at room temperature ; Cl2 gas Br2 liquid I2 solide ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การพิจารณาสถานะของสาร ในการพิจารณาสถานะของสารนั้นจะต้องทราบ 1. Boiling Point  อุณหภูมิที่สูงกว่าจุดเดือด สารจะอยู่ในสถานะของก๊าซ 2. Melting Point  อุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุด หลอมเหลว สารจะอยู่ใน สถานะของ ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การพิจารณาสถานะของสาร Ex. การพิจารณา สถานะของน้ำที่อุณหภูมิ 80 ๐C Melting point Boiling point ( 0๐C) 80๐C ( 100๐C) Solid Liquid Gas ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การพิจารณาสถานะของสาร Ex. จงพิจารณาสถานะของสาร A และ B เมื่อกำหนดให้ สาร mp. bp. A B -36 -300 380 -26 ที่อุณหภูมิ -100 ๐C สาร A มีสถานะ_____ สาร B มีสถานะ ______ ที่อุณหภูมิ -38 ๐C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ ______ ที่อุณหภูมิ -27 ๐C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ ______ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Phase diagram ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Phase diagram ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ ของแข็งผลึก (Crystalline solid) อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทางเรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า Crystal lattice หรือ Space lattice ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน มีจุดหลอมเหลวแน่นอน มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Anisotropic Substance) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ ของแข็งผลึก (Crystalline solid) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Crystalline solid ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid) อนุภาคเรียงตัวโดยไม่มีระเบียบแบบแผน ผิวหน้าไม่เรียบ และมุมต่างๆ กัน ช่วงการหลอมเหลวกว้าง มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง (Isotropic Substance) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

2. ของแข็งอสัณฐาน (Amorphous solid) ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ลักษณะเฉพาะและสมบัติชนิดของผลึก ชนิดของอนุภาคภายในผลึก ชนิดของพันธะหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค สมบัติทั่วไป ตัวอย่างของของแข็ง ผลึกโมเลกุล โมเลกุล หรือ อะตอม โมเลกุลมีขั้ว - แรงดึงดูดระหว่างขั้ว - พันธะไฮโดรเจน โมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอม - แรงลอนดอน - อ่อนหรือแข็งปาน กลางเปราะไม่มาก - จุดหลอมเหลวต่ำ - ไม่นำความร้อน และไฟฟ้า - น้ำแข็ง - แอมโมเนีย โมเลกุลไม่มีขั้ว - น้ำแข็งแห้ง - แนฟทาลีน - กำมะถัน - ไอโอดีน ผลึกโคเวเลนต์ ร่างตาข่าย พันธะโคเวเลนต์ - แข็ง - จุดหลอมเหลวสูง - ส่วนใหญ่ไม่นำ ความร้อนและ ไฟฟ้า - เพชร - แกรไฟต์ - ควอตซ์ ผลึกโลหะ พันธะโลหะ - นำความร้อนและ ไฟฟ้าได้ดี - แมกนีเซียม - เหล็ก - ทองแดง - โซเดียม ผลึกไอออนิก ไอออน พันธะไอออนิก - โพแทสเซียม ไนเตรต - ซิลเวอร์คลอไรด์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การศึกษารูปของผลึกกำมะถัน ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การทดลองที่ 5.1 การศึกษารูปผลึกของกำมะถัน ชื่อ......................................................................ชั้น...............เลขที่................... วิธีการทดลอง - ใส่ผงกำมะถัน 1 g ในหลอดทดลองขนาดกลาง และเติมโทลูอีนลงไป 5 cm3 - อุ่นสารในข้อ 1 ในบีกเกอร์น้ำร้อนที่อุณหภูมิ ประมาณ 75o C ใช้แท่งแก้วคนจนกำมะถันละลายหมด - ลดอุณหภูมิของสารละลาย ข้อ 2 อย่างช้า ๆ จนมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้อง ขณะที่ลดอุณหภูมิยังคงแช่สารละลายอยู่ในบีกเกอร์น้ำร้อน สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง - เทสารจากข้อ 3 ทั้งหมดลงบนกระจกนาฬิกาแล้วนำไปวางในที่อากาศถ่ายเทได้ดีโทลูอีนจะละเหยอย่างรวดเร็วสังเกตลักษณะของกำมะถันที่เกิดขึ้น ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

กำมะถันมอนอคลินิก กำมะถันรอมบิก ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

สมบัติของกำมะถันรอมบิก 1. เป็นผลึกรูปเหลี่ยม โปร่งใสสีเหลืองอ่อน 2. มีจุดหลอมเหลว 112.8 oC และจุดเดือด 444.6 oC 3. มีความหนาแน่น 2.07 g/cm3 4. ละลายได้ใน CS2 (คาร์บอนไดซัลไฟด์) C6H6(เบนซีน) C7H8 (โทลูอีน) แต่ไม่ละลายน้ำ 5. เสถียรที่สุดที่อุณหภูมิปกติ ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 95.6 oC จะเปลี่ยนเป็นกำมะถันมอนอคลีนิก 6. ไม่นำไฟฟ้า ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

กำมะถันมอนอคลินิก กำมะถันมอนอคลินิก รูปคงตัวที่อุณหภูมิสูงกว่า 95.6 oC แต่ไม่เกิน 119 oC ลักษณะผลึกเป็นรูปเข็ม เมื่อ อุณหภูมิต่ำกว่า 95.6 oC จะเปลี่ยนเป็นกำมะถันรอมบิก เรียกอุณหภูมินี้ว่า Transition Temperature ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

สมบัติของกำมะถันมอนอคลินิก 1. เป็นผลึกรูปเข็ม โปร่งใสสีเหลืองเข้ม 2. มีจุดหลอมเหลว 119 oC และจุดเดือด 444.6 oC 3. มีความหนาแน่น 2.07 g/cm3 4. ละลายได้ใน CS2 (คาร์บอนไดซัลไฟด์) C7H8(โทลูอีน) 5. เสถียรที่อุณหภูมิสูงกว่า 95.6 oC แต่ไม่เกิน 119 oC 6. ไม่นำไฟฟ้า ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

คาร์บอน                           ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

คาร์บอน ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะ มีรูปที่สำคัญ 3 ชนิด คือ ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะ มีรูปที่สำคัญ 3 ชนิด คือ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง ฟอสฟอรัสดำ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร

แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่ 1 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร