นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

กัมพูชาประชาธิปไตย กัมพูชาประชาธิปไตย.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
โครงการแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการเกี่ยวกับสหภาพยุโรป
ฟิลิปปินส์(Philippines)
รายงาน เรื่อง การปฏิวัติการค้าสมัยยุโรป เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาขอนแก่นเขต 25.
ประธานาธิบดีสหพันธรัฐรัสเซียคนที่ 1 ( ) บอริส นิโคลาเยวิช เยล์ตซิน Boris Nikolayevich Yeltsin วัน เดือนปี สถานที่เกิด 1 กุมภาพันธ์ 1931 ทีหมู่บ้าน.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
การค้ามนุษย์.
สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเวียตนาม.
สงครามเกาหลี.
สงครามเย็น.
วิกฤตการณ์คิวบา.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กลุ่มอิสลาม ญิฮาดปาเลสไตน์
กระทรวงการต่างประเทศ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
การเมืองการปกครองรัชกาลที่ 7
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ลักษณะทางภูมิภาคทวีปยุโรป
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
Story board.
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
เรื่อง : เหตุการณ์การก่อการร้าย
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การปฏิวัติฝรั่งเศส.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
ก. ประธานาธิบดีแฮรี่ เอช ทรูแมน ข. ประธานาธิบดีธอมัส วูดโรว์ วิลสัน
ความสัมพันธ์ ปัญหาระหว่างไทยกับกัมพูชา: ผลกระทบต่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
Welcome.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
36 1. สหรัฐอเมริกาใช้อะไรในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของทวีปยุโรป เพื่อต่อ ต้านคอมมิวนิสต์ ก. แผนการมาร์แชลล์ ข. หลักการทรูแมน ค. แผนการโมโลตอฟ ง. นโยบายกลาสต์-เปเรสตรอยกา.
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า

ผู้นำของสหภาพโซเวียต วลาดิมีร์ เลนิน ค.ศ. 1917-1922 โจเซฟ สตาลิน ค.ศ. 1922-1953 กอร์กี มาเลนคอฟ ค.ศ.1953-1955 นิกิตา ครุสชอฟ ค.ศ. 1953-1964 นิโคไล บุลกานิน ค.ศ.1964-1978 อเล็กไซ โคซิกิน ค.ศ.1978-1980 เลโอนิค เบรซเนฟ ค.ศ. 1980-1982

ยูริ แอนโดรปอฟ. ค. ศ. 1982-1984 คอนสแตนติน เชอร์เนนโก ค. ศ ยูริ แอนโดรปอฟ ค.ศ. 1982-1984 คอนสแตนติน เชอร์เนนโก ค.ศ. 1984-1985 มิคาอิล กอร์บาชอฟ ค.ศ. 1985-1991 บอริส เยลต์ซิล ค.ศ. 1991-1999 วลาดีมีร์ ปูติน ค.ศ. 1999 - ปัจจุบัน

กอร์บาชอฟ

กอร์บาชอฟ กับโรแนล เรแกน ยุคสิ้นสุดสงครามเย็น กอร์บาชอฟ กับโรแนล เรแกน

วลาดิเมียร์ ปูติน บอลิช เยลซิล

มิคาอิล กอร์บาชอฟ กลาสนอสต์ (เปิด) นโยบายที่ส่งเสริมเสรีภาพทางสังคมและวัฒนธรรม เปเรสทรอยก้า (ปรับเปลี่ยน) สู่ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เน้นที่เอกชนมีบทบาททางการผลิต เริ่มใช้นโยบาย ค.ศ. 1986

ประเทศแรกที่แยกตัวคือเอสโทเนีย

1.อาร์เมเนีย 2. อาเซอร์ไบจาน 3. เบโลรัสเซีย Republics of the Soviet Union 1.อาร์เมเนีย 2. อาเซอร์ไบจาน 3. เบโลรัสเซีย 4.เอสโตเนีย 5.จอร์เจีย 6. คาซัคสถาน 7. เคอร์กีเซีย 8. แลตเวีย 9. ลิทัวเนีย 10. มอลดาเวีย 11. รัสเซีย 12. ทาจิกิสถาน 13.เติร์กเมนิสถาน 14. ยูเครน 15. อุซเบกิสถาน

ตามด้วยลัตเวีย ลิทัวเนีย จอร์เจีย ทำให้เหลือ 11 สาธารณรัฐ ทำให้ สหพันธรัฐรัสเซีย เบโลรุสเซีย และยูเครน ร่วมมือกันเป็นแกนจัดตั้งเครือจักรภพรัฐเอกราช

ผลกระทบจากการใช้นโยบาย เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ เกิดการขาดแคลนอาหาร การว่างงาน และสังคม เกิดการแยกตัวของดินแดนในสหภาพโซวียต กลุ่มทะเลบอติก และยุโรปตะวันออก ชุมนุมเพื่อเรียกร้องเสรีภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการทหาร นโยบายถอนทหารจากแอฟกานิสถาน เชสโกสโลวะเกีย ฮังการี การปฏิวัติสายฟ้าแลบ นำไปสู่การยกเลิกสหภาพโซเวียต (15สาธารณรัฐ) มาเป็นแบบเครือรัฐเอกราช CIS

รัสเซีย เบลารุส ยูเครน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจัน Commonwealth of Independent States รัสเซีย เบลารุส ยูเครน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจัน คาซักสถาน คีร์กิสถาน มอลดูวา ทาจิกิสถาน เตอร์มินิสถาน อูซเบกิสถาน

การปฏิวัติสายฟ้าแลบ 1991   โดยกลุ่มทหาร และ KGB กลุ่มคอมมิวนิสต์หัวอนุรักษ์ก่อการเพื่อโค่นล้ม กอร์บาชอฟ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ดำเนินการ 3 วัน ถูกต่อต้านจากทหารรุ่นใหม่และประชาชนนำโดย บอลลิส เยลซิน

ปัจจุบันใช้ธงชาติแบบใด

เชชเนีย หรือเชเชยา อยู่บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาคอเคซัส มีทรัพยากรที่สำคัญคือน้ำมัน แร่ธาตุแหล่งเกษตรกรรมปลูกองุ่น ในสมัยของประธานาธิบดี กอร์บาชอฟ ค.ศ. 1991 เชชเนียเรียกร้องเอกราช กองทัพรัสเซียเข้าไปปราบปราม เชชเนียปกครองตนเองโดยไม่ฟังคำสั่งจากรัฐบาลกลาง

ค.ศ.1994 นายพลดูดาเยฟ ประกาศแยกตัวจากรัฐบาลกลาง ประธานาธิบดีบอริล เยอต์ซิล ใช้กำลังปราบปราม ชนชาติรัสเซียและกลุ่มต่อต้านนายพลดูดาเยฟจัดตั้งรัฐบาลซ้อนและได้รับความช่วยเหลือจากรัสเซีย ปี 1996 ถอนทหารออกจากเชชเนีย ต่อมาเยซิลแก้ปัญหาเชชเนียโดยการเจรจายุติการสู้รบและชะลอเวลาเรื่องการแยกตัวออกไป 5 ปี

สมัยวลาดิเมียร์ ปูติน สมัยวลาดิเมียร์ ปูติน ใช้มาตรการเด็ดขาดในการแก้ปัญหาเชชเนีย เพราะถือว่าเป็นกลุ่ม กบฏ ก่อการร้าย ค.ศ. 2002 กบฏเชชเนียบุกยึดโรงละครที่มอสโก มีการบุกโจมตี มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก 1 ก.ย. 2004 มีการบุกโรงเรียนประถม

สาเหตุที่เยลต์ซินไม่ยอมให้เชชเนียแยกตัว เป็นแหล่งน้ำมันและเส้นทางส่งออกน้ำมันด้านทะเลสาบแคสเปียนและเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของรัสเซีย อาจเป็นแบบอย่างให้รัฐเล็กๆเรียกร้องเอกราช รัฐธรรมนูญปี 1993 ไม่ยอมรับสิทธิที่เขตแดนใดแยกตัวจากรัสเซีย