การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
สื่อประกอบการเรียนรู้
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
การเจริญเติบโตของมนุษย์
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
บทที่ 2.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
โรคเอสแอลอี.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โรคเบาหวาน ภ.
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25 เสนอโดย ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สระแก้ว น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายรวมถึงระดับฮอร์โมน จึง ส่งผลให้วัยรุ่นมีความสนใจเพศตรง ข้าม รวมถึงความอยากรู้อยากลอง ตามช่วงวัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น

การเจริญเติบโตในวัยรุ่น เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นการเจริญเติบโตในเพศชายและเพศหญิงจะแตกต่างกันชัดเจน เนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศ

ในเพศหญิง เริ่มมี growth spurt (โตอย่างรวดเร็ว) อายุ 11 ปี ความสูงเพิ่มขึ้น 7 ซม./ปี หลังจากนั้นความสูงจะค่อย ๆ ลดลงเมื่ออายุ 14 – 15 ปี ความสูงลดลงเหลือเพียง 0.5 – 1 ซม./ปี ความสูงเฉลี่ยของผู้หญิงไทยขณะมีประจำเดือนครั้งแรก คือ 148.8 ซม. และสูงเต็มที่วัยผู้ใหญ่เพิ่มขึ้นอีก 6.2 ซม.

ในเพศชาย เริ่มมีความสูงอย่างรวดเร็วเพิ่มขึ้น 6 ซม./ปี อายุ 14 ปี เริ่มมีการเพิ่มความสูงมากที่สุด 8 ซม./ปี หลังจากนั้นความสูงช้าลง อายุ 17 – 18 ปี ความสูงของคนไทย โดยเฉลี่ย 169.6 ซม.

ปัจจัยที่มีผลต่อความสูงของคนเรา

กรรมพันธุ์ รูปร่างของพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย เป็นตัวกำหนดโครงสร้างพื้นฐานของลูกหลาน

ภาวะโภชนาการ อาหารมีผลต่อความแข็งแรงของ กระดูกอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่น ซึ่งกระดูกจะมีการพอกพูนให้มีความแข็งแกร่งได้ ต่างจากในช่วงวัยอื่น ควรได้รับอาหารครบ 5 หมู่อย่างพอเพียง สารอาหารที่สำคัญในการทำให้กระดูกแข็งแรง ก็คือแคลเซียม อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นม ปลาเล็กปลาน้อย ที่กินได้ทั้งก้าง กุ้งแห้ง ผักที่มีสีเขียว เข้มๆ ถั่วเหลือง และงา เป็นต้น

ฮอร์โมน ฮอร์โมนที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือ - Growth hormone จากการที่ฮอร์โมนตัวนี้ จะมีผลต่อการเจริญเติบโตดังกล่าว คนที่ขาดฮอร์โมนตัวนี้จะมี รูปร่างเตี้ยเล็กกว่าปกติ - Thyroid hormone ไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งสร้างจากต่อมไทรอยด์ ก็มีผลต่อสมอง และความสูงอย่างมาก ถ้าขาดฮอร์โมนตัวนี้ มักจะมีพัฒนาการช้าและเตี้ย

Sex hormone ฮอร์โมนเพศก็สำคัญเช่นกัน หากเด็กเป็นสาวเป็นหนุ่มเร็ว จะส่งผลให้กระดูกปิดเร็ว และค่อยๆ หยุดเจริญเติบโตในที่สุด พบว่าเด็กผู้หญิงที่มีประจำเดือนเร็ว มีแนวโน้มที่จะโตเป็นผู้ใหญ่ที่ไม่สูง ส่วนมากเด็กหญิงที่มีประจำเดือนแล้ว 3 ปี และเด็กชายที่เสียงแตกมาแล้ว 3 ปี มักจะหยุดโตและหมดโอกาสที่จะสูงได้อีก นอกจากนี้ การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนบางชนิดก็อาจทำให้เด็กเตี้ยได้ ได้แก่ การมีฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตมากเกินไป เด็กจะมีรูปร่างอ้วนเตี้ย

การออกกำลังกาย การออกกำลังกาย จะกระตุ้นให้ต่อมใต้สมองหลั่งgrowth hormone ได้เหมือนกัน และยัง กระตุ้นให้เซลล์ที่สร้างเนื้อกระดูกดึง แคลเซียมจากเลือดมาสร้างกระดูก และ สร้างความแข็งแรงให้กับกระดูกด้วย นอกจากนี้การได้รับแสงแดดอย่างพอเพียงในตอนเช้าหรือเย็น จะช่วยให้มีการสร้างวิตามินดีในร่างกาย เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมได้ คนที่เอาแต่นั่งๆ นอนๆ พัฒนาการของกระดูกจะช้ากว่าคนที่เคลื่อนไหวร่างกายอยู่เสมอ

การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ การนอนหลับให้สนิทและนานพอ จะทำให้ร่างกายหลั่ง growth hormone ออกมาได้อย่างเต็มที่ และพบว่าควรนอนก่อน 5 ทุ่ม เพราะจะเป็นช่วงที่ร่างกายจะหลั่ง growth hormone ออกมาได้สูงสุด การนอนดึกมีผลทำให้ hormone หลั่งออกมาน้อย และมีผลต่อความสูงได้ ในอนาคต

สุขภาพร่างกายและจิตใจ การดูแลสุขภาพไม่ให้เจ็บป่วย จะทำให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ การเจ็บป่วยบ่อยๆ จะทำให้การเติบโตหยุดชะงัก การใช้ยาบางชนิดก็มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย นอกจากนี้ ความเครียดก็เป็นตัวบั่นทอนการเจริญเติบโตได้เช่นกัน

หลายคนมาที่นึกอยากสูงขึ้น เมื่ออายุเลยวัยรุ่น ไปแล้ว จึงไม่สามารถจะทำได้ เพราะกระดูกได้ ปิดไปแล้ว การที่จะฉีดกระตุ้น Growth hormone ในขณะที่ระดับฮอร์โมนตัวนี้ในร่างกายปกติ จะก่อให้เกิดผลเสียเพราะมีผลกระทบต่อฮอร์โมนตัวอื่นๆ ในร่างกายให้ผิดปกติได้ และก็จะมีผลต่อระบบความดันโลหิตและหัวใจ ดังนั้น คนที่ยังอยู่ในวัยที่สร้างความสูงได้ ควรใส่ใจกับการสร้างความสูงและความแข็งแรงของกระดูกเสียตั้งแต่วัยเด็ก ดังปัจจัยต่างๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ก่อนจะสายเกินไป

ภายใน 2 เดือน น้ำหนัก ตามเกณฑ์มาตรฐาน ส่วนสูง เพิ่มขึ้น ส่วนสูง เพิ่มขึ้น สมรรถภาพ ดีขึ้น