ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
BC320 Introduction to Computer Programming
เงิน.
ตัวอย่าง Flowchart.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 2 Operator and Expression
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
Operators ตัวดำเนินการ
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
วิธีการทำงานของผังงาน
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
เศษส่วน.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
Operators ตัวดำเนินการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Flowchart การเขียนผังงาน.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ • ตัวดำเนินการ ทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ หรือเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “เครื่องหมายคำนวณทางคณิตศาสตร์” เป็นการดำเนินการที่พบบ่อยที่สุดในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสั่งให้โปรแกรมนำข้อมูล 2 จำนวนหรือมากกว่ามาคำนวณตามเครื่องหมายที่ปรากฏ

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) หน้าที่ ตัวอย่างการใช้ ผลลัพธ์ * คูณ 5*3 15 / หารเอาส่วน 5/3 1 % หารเอาเศษ -0.5%3 -2.0 + บวก 5+3 8 - ลบ 5-3 2

ตัวดำเนินการการเปรียบเทียบ (Relational Operator) ตัวดำเนินการนี้ใช้กับการเปรียบเทียบค่าน้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ และถูกจัดเป็นตัวดำเนินการไบนารี่ ดังนั้นจะต้องใช้สองนิพจน์ซึ่งอาจจะเป็นค่าคงที่จำนวนใด ๆ และ หรือ ตัวแปรชนิดดั้งเดิมเท่านั้น      ตัวดำเนินการ           หน้าที่   ตัวอย่าง a=5:b=3       ผลลัพธ์ <   น้อยกว่า a<b false <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ a<=b >   มากกว่า a>b true >= มากกว่าหรือเท่ากับ a>=b == เท่ากัน 5==5 != ไม่เท่ากัน 5!=5

ตัวดำเนินการตรรกศาสตร์ (Logical Operator) ตัวดำเนินการนี้ใช้เปรียบเทียบค่า Boolean ซึ่งจะมีค่าจริงหรือเท็จเท่านั้น ตัวดำเนินการนี้จะมีทั้งหมด 4 ตัวดำเนินการ คือ not, and, or, xor • p1 p2 p1 && p2 false true AND gate

วันนี้ เจาะรายละเอียด ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ DIV MOD ผลลัพธ์ / หารเอาส่วน 5/3 1 % หารเอาเศษ -0.5%3 -2.0 div mod

>>> i = 13 >>> j = 5 ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) >>> i = 13 >>> j = 5 >>> i/j # DIV หารเอาส่วน 2 >>> i%j # MOD หารเอาเศษ 3

Div ตัวดำเนินการdiv ให้ผลหารที่เป็นเลขจำนวนเต็ม โดยปราศจากจุดทศนิยม และเศษที่เหลือ เช่น           9 div 5   คือ 1          24 div 9   คือ 2         -19 div 5   คือ -3

mod ตัวดำเนินการmod ใช้ในการหารเลขจำนวนเต็ม แล้วให้ผลลัพธ์ที่เป็น เศษจากการหารนั้นๆ เช่น            9 mod 5   คือ 4          24 mod 9   คือ 6           

กิจกรรมชวนคิด                                                          จากนั้นก็เริ่มสกัดเอาแบงค์ใหญ่ ๆ ออกมาก่อน โดยวิธีการหารครับ หารเอาส่วนแล้วก็หารเอาเศษง่าย ๆ เนี่ยแหล่ะ                                                                                 

ต่อไปก็คำนวนหาแบงค์เล็กบ้าง อือม ตอนนี้แบงค์สิบบาทมันไม่มีแล้วเน้อะ งั้นก็คงต้องเหมาว่าเหรียญสิบบาทเป็นพวกเดียวกับแบงค์เล็กไปก่อนก็แล้วกัน                                                                             กิจกรรมชวนคิด

สุดท้ายก็สังเคราะห์เอาจำนวนเหรียญกษาปน์ออกมา (ผมไม่ค่อยชอบเศษสตางค์เท่าไหร่ มันหนักกระเป๋า   )                                                    กิจกรรมชวนคิด

รู้สึกผมจะลืมอะไรไป อือม ๆ ๆ ๆ ผมลืมจริง ๆ ด้วย ผมลืมคำนวนเหรียญสตางค์ งั้นเรามาดูดีกว่าว่าจะกระเทาะเอาเหรียญสตางค์ออกมาได้ยังไง                                                                                     กิจกรรมชวนคิด

กิจกรรมชวนคิด แบงค์พัน = 5 ใบ แบงค์ห้าร้อย = 1 ใบ แบงค์ร้อย = 2 ใบ, เมื่อถึงตรงนี้เราก็จะได้คำตอบแล้วว่า  ยอดเงิน 5,765.75 บาทนั้น เมื่อแตกออกมาเป็นธนบัตรและเหรียญกษาปน์แล้ว เราก็จะได้เป็น … คำตอบ  แบงค์พัน = 5 ใบ แบงค์ห้าร้อย = 1 ใบ แบงค์ร้อย = 2 ใบ, แบงค์ห้าสิบ = 1 ใบ เหรียญสิบ = 1 เหรียญ เหรียญห้า = 1 เหรียญ เหรียญห้าสิบสตังค์ = 1 เหรียญ เหรียญยี่สิบห้าสตังค์ = 1 เหรียญ กิจกรรมชวนคิด

แก้ไขปัญหา ต่อไปนี้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ จงเขียน Flowchart แก้ไขปัญหา ต่อไปนี้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ Compute ได้ถูกต้อง INPUT PROCESS คำนวณหา ใบพัน ห้าร้อย ร้อย ห้าสิบ เหรียญสิบ เหรียญห้า เหรียญบาท 50สต. 25สต. OUTPUT บอกจำนวน ใบพัน ห้าร้อย ร้อย ห้าสิบ N ไม่ให้เกิน 9,999.75

แก้ไขปัญหา ต่อไปนี้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ จงเขียน Flowchart แก้ไขปัญหา ต่อไปนี้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ Compute ได้ถูกต้อง มีเงิน สิบบาท ซื้อขนม เจ็ดบาท จะได้เงินทอนกี่บาท INPUT PROCESS เหรียญ 5 สองเหรียญ เหรียญ 5 1เหรียญ เหรียญ 1บาท 5 เหรียญ เหรียญ 1บาท 10 เหรียญ เหรียญ 10 OUTPUT N= 10 เงินทอน

คำสั่ง FOR loop

For loop 1 ชั้น n =1; For ( n = 1; n=60; n++) { print n; n = 1 } FALSE TRUE Print n n = n +1

หลักการ แสดง ค่า ชั่วโมง นาที HH : MM หลักการ แสดง ค่า ชั่วโมง นาที วินาที HH : MM : SS

หลักการ มิเตอร์แสดงระยะทางของรถยนต์ แสดง ค่า กิโลเมตร เมตร KKKKKK : MM แสดง ค่า กิโลเมตร เมตร KKKKKK : MM หลักการ สูตรคูณ แม่2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

For loop 2 ชั้น n =1; For ( h = 1; n=24; n++) { For m=1;m=60;m++ { print h,m; } h = 1 h = 24 FALSE TRUE Print n h=h+1