การลดความชื้นในโรงพยาบาลทันตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร (Dehumidification in Dental Hospital Naresuan University) ผู้ทำโครงงาน 1.นายวัชรพงษ์ นาสมรูป รหัสประจำตัว 50364188 2.นายศิริศักดิ์ แก้วอัคฮาด รหัสประจำตัว 50364294 3.นายอาทิตย์ จันทร์อนันต์ รหัสประจำตัว 50364393 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ศิษฐ์ภัณฑ์ แคนลา
ความสำคัญและที่มาของปัญหา เกิดความชื้น เกิดเชื้อรา เกิดกลิ่นอับ คุณภาพอากาศภายใน (IAQ) ไม่เหมาะสม
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตรวจหาแหล่งกำเนิดความชื้นภายในโรงพยาบาลทันตกรรม 1. เพื่อตรวจหาแหล่งกำเนิดความชื้นภายในโรงพยาบาลทันตกรรม 2. เพื่อตรวจวัดปริมาณความชื้นและเสนอมาตรการการลดความชื้นภายในอาคาร
ขอบเขตโครงงาน ตรวจหาแหล่งกำเนิดความชื้น ตรวจวัดปริมาณความชื้น เสนอมาตรการการลดความชื้น เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบแหล่งที่มารวมถึงปริมาณความชื้นที่เกิดขึ้น 2. มีมาตรการในการลดความชื้น 3. รักษาคุณภาพอากาศภายใน (IAQ) ได้อย่างเหมาะสม
ทฤษฎีที่เกียวข้อง ความหมายความชื้น อากาศชื้น (Moist air) คือ อากาศที่มีไอน้ำผสมอยู่ในสัดส่วนหนึ่งซึ่งยังไม่ถึงจุดอิ่มตัว ความชื้น (Moisture) คือ น้ำที่ผสมอยู่ในตัวกลางหนึ่ง เช่น น้ำในอากาศ, น้ำในเนื้อไม้ (จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ศัพท์ปรับอากาศ อังกฤษ-ไทย) อัตราส่วนความชื้น คือ มวลไอน้ำ(Kg.)ต่อมวลอากาศแห้ง(Kg.)
ความชื้นสัมพัทธ์ (%RH)
แหล่งความชื้น (Moisture Sources) ความชื้นแหล่งที่ 1 : การรั่วไหลจากท่อและการรั่วซึมจากฝน ความชื้นแหล่งที่ 2 : กิจกรรมในอาคาร ความชื้นแหล่งที่ 3 : พื้นดินใต้อาคาร ความชื้นแหล่งที่ 4 : ความชื้นที่มากับโครงสร้าง และวัสดุต่างๆ
สภาวะปรับอากาศที่เหมาะสม (Comfort Zone) ตำแหน่งที่เหมาะสมในแผนภูมิไซโครเมตริกของการปรับอากาศ
วิธีการควบคุมและลดความชื้น กระบวนการทำความเย็นลดความชื้นโดยคอล์ยเย็น การปรับอากาศทั่วไป
w Over Cooling -ใช้เครื่องทำความเย็นที่ มีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้ สิ้นเปลืองพลังงาน -อากาศเย็นเกินไป
Reheat w -เครื่องทำความเย็นขนาดใหญ่ -สิ้นเปลืองพลังงานที่ Heater ที่ใช้ในการอุ่นอากาศ
w Heat Pipe QPrecool -ประหยัดพลังงาน -ประสิทธิภาพการลดความชื้นสูง Qreheat
การลดความชื้นโดยใช้สารดูดความชื้น
ระยะเวลาและแผนการปฏิบัติงาน งบประมาณ ได้รับเงินทุนการทำโครงงานจากภาควิชาฯ 3,000 บาท
ขอบคุณครับ