Introduction to Pathology for 3rd yr

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/04/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
Physiology of Crop Production
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
Degree offered: Graduate Diploma, Master, Residency Training
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
Chapter 12 : Maintaining Information Systems
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ให้ประหยัดการใช้หน่วยความจำ (space) ด้วยความรวดเร็ว (time)
Lecture 1 – บทบาทและหน้าที่ของนักพัฒนาระบบ
Table of specification
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
นายสัตวแพทย์ยันต์ สุขวงศ์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ANATOMIC PATHOLOGY PATHOLOGIC ANATOMY MORBID PATHOLOGY
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
Introduction to Epidemiology
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
Cancer.
(Strategy Implementation)
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
โรคเบาหวาน ภ.
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
ระบบเทคโนโลยี.
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การจัดการ (Management)
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
OBJECTIVE 1. เพื่อให้นักศึกษาทราบขอบข่ายของ วิชาพยาธิวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาทราบศัพท์ที่ใช้ บ่อยในวิชาพยาธิวิทยา 3. เพื่อให้นักศึกษาทราบชนิดสิ่งส่ง.
Clinical Correlation Cardiovascular system
6. VASCULITIS Department of Pathology Faculty of Medicine
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Pathology for 3rd yr Introduction to Pathology for 3rd yr. Medical student, Medical Faculty Naresuan University By S. Pongsabutra MD. 13 June 06

LEARNING OBJECTIVE OF INTRODUCTION TO PATHOLOGY Student must understand and can explain the followings :- 1. Course Syllabus of Pathology I(405311) (ประมวลการเรียนการสอนรายวิชาพยาธิวิทยา 1 ชี้แจงรายละเอียดในชั่วโมงแนะนำพยาธิวิทยาภาคปฏิบัติ) 2. The meaning and general knowledge concern with study the pathology

LEARNING CONTENT OF INTRODUCTION TO PATHOLOGY A. Course Syllabus Pathology I (ประมวลหัวข้อรายวิชา) 1. Content And Learning objective 2. Topic of learning 3. Organization of teaching & learning 4. Teaching media 5. Learning place 6. Assessment 7. Time table study 8. References * รายละเอียดพิมพ์เป็นเอกสารแจก

LEARNING CONTENT (CONT.ue) The meaning and general knowledge concern with study the pathology :- 1. The meaning of pathology and scope of pathology. 2. How to study the pathology? * Strategy of learning * Tactics of learning 3. The general main causes of diseases. 4. Applied pathology to solve clinical problems.

MEANING : WHAT IS THE PATHOLOGY (พยาธิวิทยา?) Pathology is the study of abnormal state of body particulary in morphological and functional changes of organ, tissue, cell. (Pathology; Gr.=Pathos+Logos) Pathology is the medical science specialty practice concerned with all aspects of Diseases

MEANING : WHAT IS THE DISEASE ( อย่างไรที่เรียกว่า โรค?, ความหมายคำว่า โรค. )

Disease is the disorderly function(symptom,sign)of organ system of body (=cell; tissue; organ). or Disease= dis+ease =(suffering, torture of that body which show off as abnormal sign and symptom)

Scope of Pathology General Pathology Special Pathology AP + CP Anatomic Pathology (AP) Clinical Pathology (CP) Basic Pathology Systemic Pathology * Autopsy Pathology * Forensic Pathology * Surgical Pathology * Cyto Pathology * Molecular Pathology * Hemato Pathology …….ฯลฯ......... APPLY TO SOLVE PROBLEMS OF CLINICAL DISEASES

( ความเชื่อ สมมุติฐาน แนวคิด ที่สามารถพิสูจน์ความจริงได้ ) HOW TO STUDY PATHOLOGY STRATEGIC PLAN A. THEORETICAL STUDY B. TACTICAL (PRACTICE) ( ความเชื่อ สมมุติฐาน แนวคิด ที่สามารถพิสูจน์ความจริงได้ ) ( กลวิธีตรวจสอบความเชื่อ แนวคิดนั้น ) Anatomical changes Functional changes

THEORETICAL STUDY A Main object is to know the nature of DISEASE by study as the following :- 1. Etiology( causes of diseases ) 2. Pathogenesis (mechanism of diseases) 3. Pathological changes (structural change = Lesion) 4. Clinical feature (functional & structural changes presented as symptom and sign of patient) 5. Complication – ภาวะแทรกซ้อน – ผลกระทบกับอวัยวะระบบอื่น ๆ 6. Prognosis ( prediction the future of victim)

TACTICAL STUDY B กลวิธีศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และหน้าที่ เมื่อเกิดโรคขึ้น คือ “การเปรียบเทียบ” ระหว่าง ธรรมชาติ ของสิ่งปกติ กับ สิ่งซึ่งผิดปกติไปจากธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งเดียวกัน ชนิดเดียวกันในเรื่อง โครงสร้าง และ หน้าที่การทำงาน ของอวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ นั้น

ตัวอย่างการเปรียบเทียบ Normal squamous cell vs abnormal squamous cell? Structure Normal mucosal small bowel vs abnormal mucosal small bowel? Normal liver vs abnormal liver Function Normal blood sugar vs abnormal blood sugar of …..etc….. organ, tissue, cell

เครื่องมือตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง (โรค) ทั้ง Anatomical and Functional changes ประกอบด้วย ความรู้เรื่องธรรมชาติ ปกติในร่างกายมนุษย์ เครื่องมือตาม ธรรมชาติของมนุษย์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและเทคนิคปฏิบัติการต่าง ๆ * ด้านโครงสร้าง :Gross Anatomy :Micro Anatomy * ด้านเจริญเติบโต : Embryology * ด้านหน้าที่การทำงาน : Physiology included Biochemistry Immunology ..etc.. * ประสาทสัมผัสทั้ง 5 รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส eg. การซักประวัติ การตรวจร่างกาย คลำ, เคาะ, ฟัง เพื่อหา ความผิดปกติของอวัยวะ * ด้าน Physic, เคมี ตลอดจนชีววิทยาในทางการแพทย์ เช่น การใช้กล้องจุลทรรศน์, x-rays, MRI การใช้ปฏิกิริยาทาง เคมี Immunochemistry การตรวจวิเคราะห์สารต่าง ๆ ทิ่ เปลิ่ยนแปลงไป….ฯลฯ…

กลุ่มที่มาของพยาธิสภาพชนิดต่างฯ The general main causes of disease กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 Congenital Disorders Disorders of Self defense mechanism * inflammation * Immune disorder Formation of Tumor * Non – Neoplastic * Neoplastic Hereditary Disease Congenital anomaly * Familial diseases * Abnormal Growth & Development (Biological orNon Biological causes) กลุ่ม 4 Unclassified: *Degeneration. * Metabolic Disorders eg. DM. ….ฯลฯ.......

Basic Medical Science with Clinico-pathological Correletion Management Aortic Valve Stenosis c Lt. Sided Failure Solution of problem Clinical Problem Pathology (disease) Structural Changes Functional Changes Prophylaxis or Prevention Prognosis Surgery Medical Other Rx. Clinical Dx. หอบ เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นเร็ว เสียงหัวใจผิดปกติ (Murmur) เสียงหายใจผิดปกติ (Crepitation) Heart V. (Sclerosis Stenosis) - Heart sound - Murmur Circulation Disturb Cardiac out put Complication Fail to pump Over Compensate Irregular heart rate Hypertrophy heart Muscle Strength of heart pump เลือดคั่งในปอด น้ำไหลเข้าถุงลม หายใจไม่สะดวก หอบ มีเสียงกรอบแกรบ Heart,lungs s changes Compensate to be normal Heart rate

Macroscopic : พยาธิสภาพลิ้น Aortic Valve Acute bacterial vegetative endocarditis

พยาธิสภาพ ผนังหัวใจซ้ายโต พยาธิสภาพ ผนังหัวใจซ้ายโต Left ventricular hypertrophy(1.8cm)

พยาธิสภาพ hypertrophy heart

พยาธิสภาพ Microscopic ของเหลวในถุงลมปอด Acute pulmonary edema

Macroscopic : Abnormal cut surface characterized by multiple , varying in size , up to 1 cm. , grey – white , masses

Microscopic : Abnormal both in size , shape of liver Cell

Macroscopic : Focals loss Liver parenchyma ; Multiple lesions

Microscopic : Foreign body in Hepatic bile duct ( Fluke – พยาธิ์ในท่อน้ำดีตับ )

Macroscopic : Severe , Diffuse dilatation of sinusoid with reddish – brown color Passive congestion of liver

Microscopic : Changes characterized by loss of Liver cord around central vein – meaning ? Central necrosis of Liver

Macroscopic : Abnormal surface – diffuse nodular lesions , Liver Macroscopic : Abnormal surface – diffuse nodular lesions , size 1-2 mm. and Shrinkage

Liver Macroscopic : Abnormal cut surface show diffuse grey-white spots size vary to ~ 1-3 mm. through out cut surface

TISSUE SLIDE PROCESSING APPENDIX TISSUE SLIDE PROCESSING For Microscopic Study

for light microscopy (formalin) Any time Necropsy Biopsy During operation in OR. Chemical Fixation for light microscopy (formalin) Specimen Freezing Dehydration (ethanol) Clearing (xylene) Infiltration (xylene/paraffin) Embedding (paraffin) Sectioning (microtome) Mounting (glass slide) Sectioning (cryostat) Removal of paraffin Rehydration Staining (H & E) and / or histochemical reaction Light Microscopy

REFERENCES 1. Anderson’ s Pathology, 10th edition Edited by Ivan Damjanov, James Linder, Vol. I, “The history of pathology” pp 1 – 11. 2. Concise Pathology, 3rd edition, Edited by P. Chandrasoma ; C.R. Taylor, Introduction : The discipline of Pathology, pp xiii – xiv 3. Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease, 7th edition, Edited by Kumar; Abbas; Fausto; “Introduction to Pathology” pp 4

เฉลย Post-Test 1. พยาธิวิทยา คือ 1. พยาธิวิทยา คือ วิชาที่เรียนรู้เกี่ยวกับโรค (disease) โดยการศึกษาโครงสร้าง (structure) หน้าที่การทำงาน (physiology or function) และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วโดยเปรียบเทียบกับความเป็นปกติ โครงสร้าง และหน้าที่ในส่วนนั้น ๆ ของ cell, tissues, organs=Body

2. โรค คือ สิ่งที่ปรากฏแสดงออกมาเป็นอาการ (symptom) และเครื่องหมายโรค (sign) เนื่องจากมีความผิดปกติในส่วนต่าง ๆนั้น ของร่างกาย (cell, tissue, organ)

3. พยาธิวิทยากายวิภาคกับพยาธิวิทยาคลินิกต่างกันอย่างไร พยาธิวิทยากายวิภาค(Anatomic Pathology) หมายถึง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานจาก cell, tissue, organ โดยตรง เป็นการศึกษาความผิดปกติในภาวะคงที่ (static condition=dead tissue) ทั้งนี้เพื่อเรียนรู้ธรรมชาติของโรค

พยาธิวิทยาคลินิก(Clinical Pathology) หมายถึง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ cell, tissue, organ โดยกระทำกับร่างกายคนเป็นการศึกษาในภาวะ dynamic condition คือขณะมีชีวิตอยู่การศึกษาต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ เข้ามาช่วยวิเคราะห์ศึกษาให้ได้คำตอบทั้งนี้เพื่อนำผลที่ได้ไปดูแลรักษาผู้ป่วย

4. ถ้าต้องการรักษา ป้องกัน ควบคุมโรคใดโรคหนึ่ง ท่านจะเริ่มวางแผนขั้นตอนการศึกษาโรคนั้นอย่างไรจึงจะประสบความสำเร็จ. การวางแผนขั้นตอนการศึกษา; 1. ศึกษา Etiology 2. ศึกษา Pathogensis 3. ศึกษา Pathologic changes (lesion) 4. ศึกษา Clinical manifestation 5. ศึกษา Complication 6. ศึกษา prognosis