ASP [# 8] ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการตัดคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ทบทวน Array.
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
Microsoft Access.
Microsoft Access.
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
โครงสร้าง ภาษา HTML.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
โปรแกรม Microsoft Access
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การจำแนกบรรทัดข้อความ
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
1 นายทินวัฒน์ พงษ์ทองเมือง. 2 การเปิดให้ Program ทำงาน 3  p:\xampplite\ xampplite-control.exe  Start Apache.
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
Javascript.
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
สตริง (String).
ASP.NET Server Control.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 6 Decision Statement
การใช้ฟังก์ชั่นทาง EXCEL
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
หลักการทำ Animation แบบง่ายๆ
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ใช้นับจำนวนแบบมีเงื่อนไข รูปแบบฟังก์ชัน
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ต้นไม้ Tree (2) ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
CHAPTER 7 String Functions and Regular Expression
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การกระทำทางคณิตศาสตร์
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
CHAPTER 2 Operators.
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ASP [# 8] ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการตัดคำ ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการค้นหาคำ ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการสลับตำแหน่งอักษร ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการแทนที่คำ

ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการตัดคำ Function Left เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับตัดคำใน String จากทางซ้ายตามจำนวนที่ต้องการมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Left(string, lenght) stringหมายถึงข้อความที่เราจะตัด lenghtหมายถึงจำนวนตัวอักษรที่ต้องการ A=“THAILAND” B=Left(A,4)

Function Right A=“THAILAND” B=Right(A,4) เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับตัดคำใน String จากทางขวาตามจำนวนที่ต้องการมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Right(string, lenght) stringหมายถึงข้อความที่เราจะตัด lenghtหมายถึงจำนวนตัวอักษรที่ต้องการ A=“THAILAND” B=Right(A,4)

Function Mid A=“THAILAND” B=Mid(A,2,3) เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับตัดคำใน String โดยระบุตำแหน่งเริ่มต้นและจำนวนที่ต้องการมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Mid(string, start[, lenght]) stringหมายถึงข้อความที่เราจะตัด startหมายถึงตำแหน่งเริ่มต้นของตัวอักษรที่ต้องการ lenghtหมายถึงจำนวนตัวอักษรที่ต้องการ A=“THAILAND” B=Mid(A,2,3)

ตัวอย่างการใช้งาน Function Left, Right, Mid <% Dim AnyString Dim MyStr1 Dim MyStr2 Dim MyStr3 AnyString="ASPThai.Net" MyStr1=Left(AnyString, 1) MyStr2=Right(AnyString,3) MyStr3=Mid(AnyString, 4, 10) Response.Write(MyStr1&"<br>") Response.Write(MyStr2&"<br>") Response.Write(MyStr3&"<br>") %> ผลลัพธ์ที่ได้ A Net Thai.Net

ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการค้นหาคำ Function InStr เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับการค้นหาตำแหน่งของคำที่กำหนดภายใน String มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ InStr([start, ]string1, string2[, compare]) Start หมายถึงตำแหน่งที่เริ่มต้นค้นหา ถ้าไม่ระบุจะถือว่าเป็นตำแหน่งแรกสุด String1 หมายถึงข้อความที่จะให้ค้น String2 หมายถึงคำที่ต้องการค้นหา Compare หมายถึงค่าคงที่ ที่ใช้ระบุประเภทของการเปรียบเทียบ    0 : vbBinaryCompare เป็นการเปรียบเทียบแบบ Binary    1 : vbTextCompare เป็นการเปรียบเทียบแบบ Text    2 : vbDatabaseCompare เป็นการเปรียบเทียบข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล ถ้าไม่กำหนดจะถือให้เป็น 1

ตัวอย่างการใช้งาน Function InStr <% Dim AnyString Dim FindString Dim MyStr1 Dim MyStr2 Dim MyStr3 Dim MyStr4 AnyString="ASPThai.Net Site for ASP" FindString="t" MyStr1=InStr(12, AnyString,FindString, 1) MyStr2=InStr(1, AnyString,FindString, 0) MyStr3=InStr(AnyString,FindString) MyStr4=InStr(1, AnyString,"D") Response.Write(MyStr1&"<br>") Response.Write(MyStr2&"<br>") Response.Write(MyStr3&"<br>") Response.Write(MyStr4&"<br>") %> ผลลัพธ์ที่ได้ 15 ในข้อความมี "t" อยู่ 2 ตำแหน่งที่ 11 และ 15 ดังนั้นจึงได้ตำหน่งที่ 15 เพราะเริ่มค้นหาจากตำแหน่งที่12 11 ในข้อความมี "t" อยู่ 2 ตำแหน่งที่ 11 และ 15 ดังนั้นจึงได้ตำหน่งที่ 11 เพราะเริ่มค้นหาจากตำแหน่งที่1 11 ในข้อความมี "t" อยู่ 2 ตำแหน่งที่ 11 และ 15 ดังนั้นจึงได้ตำหน่งที่ 11 เพราะเริ่มค้นหาจากตำแหน่งที่1 0 ได้เป็น 0 เพราะไม่พบคำที่ค้นหา

Function Len A=“THAILAND” B=Len(A) เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับการนับจำนวนของ String มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Len(string) stringหมายถึงข้อความที่ต้องการจะนับ A=“THAILAND” B=Len(A)

การประยุกต์ใช้งาน เราสามารถนำการค้นหาคำนี้ไปใช้จับผิดการกรอกรูปแบบ Email ได้ซึ่งมาพิจารณารุปแบบ Email กัน 1.เครื่องหมาย @ อยู่อย่างน้อยสุดคือตำแหน่งที่ 2 (ถ้านับตัวแรกเป็นตำแหน่งที่1 )เพราะคงไม่มี Email ที่ไหนขึ้นด้วย @ 2.เครื่องหมาย . อยู่อย่างน้อยสุดก็เป็นตำแหน่งที่ 4 เช่น d@d.net ซึ่งคงไม่มีใครมี Email d@.net แน่นอน 3.ความยาวหรือจำนวนรวมของตัวอักษร อย่างน้อยก็ไม่น่าจะต่ำกว่า 5 แน่ เมื่อทราบหลักการเราก็มาใช้คำสั่ง InStr เพื่อเช็ครูปแบบ Email ดีกว่า If InStr(strEmail,"@") < 2 or InStr(strEmail,".") < 4 or len(strEmail) < 5 Then

ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการสลับตำแหน่งอักษรจากหลังมาหน้า Function StrReverse เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับสลับตำแหน่งของตัวอักษร จากหลังมาหน้า มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ StrReverse(string) stringหมายถึงข้อความที่เราต้องการจะสลับตำแหน่ง ตัวอย่างการใช้งาน Function StrReverse <% Dim AnyString Dim MyStr AnyString="ASPThai.Net Site for ASP" MyStr=StrReverse(AnyString) Response.Write(MyStr&"<br>") %> ผลลัพธ์ที่ได้ PSA rof etiS teN.iahTPSA

ฟังก์ชั่นที่ใช้เกี่ยวกับการแทนที่คำ Function Replace เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สำหรับการแทนที่คำใน String โดยจะทำการค้นหาคำที่ต้องการ แล้วแทนที่ด้วยคำที่กำหนด โดยสามารถระบุตำแหน่งเริ่มต้นของตัวอักษร และจำนวนครั้งที่ต้องการให้แทนที่ได้ มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Replace(string, find, replace[, start[, count[, compare]]]) String หมายถึงข้อความที่ต้องการแทนที่ Find หมายถึงคำที่ต้องการเปลี่ยน Replace หมายถึงคำที่ต้องการแทนที่ Start หมายถึงตำแหน่งเริ่มต้นที่ต้องการแทนที่ Count หมายถึงจำนวนครั้งที่ต้องการแทนที่ ถ้าต้องการแทนที่ไม่จำกัดครั้งให้ใส่ -1 Compare หมายถึงค่าคงที่ ที่ใช้ระบุประเภทของการเปรียบเทียบ    0 : vbBinaryCompare เป็นการเปรียบเทียบแบบ Binary    1 : vbTextCompare เป็นการเปรียบเทียบแบบ Text    2 : vbDatabaseCompare เป็นการเปรียบเทียบข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล ถ้าไม่กำหนดจะถือให้เป็น 1

ตัวอย่างการใช้งาน Function Replace <% Dim AnyString Dim FindString Dim ReplaceString Dim MyStr1 Dim MyStr2 Dim MyStr3 Dim MyStr4 AnyString="XXXTTTXXXTTTXXXTTTXXXTTT" FindString="TTT"   'คำที่จะค้นหา ReplaceString="XXX"   'คำที่จะเอาไปแทนที่คำที่ค้นหา MyStr1=Replace(AnyString, FindString, ReplaceString, 1, 1, 1) MyStr2=Replace(AnyString, FindString, ReplaceString, 1, 2, 1) MyStr3=Replace(AnyString, FindString, ReplaceString, 1, 3, 1) MyStr4=Replace(AnyString, FindString, ReplaceString, 1, -1, 1) Response.Write(MyStr1&"<br>") Response.Write(MyStr2&"<br>") Response.Write(MyStr3&"<br>") Response.Write(MyStr4&"<br>") %> ผลลัพธ์ที่ได้ XXXXXXXXXTTTXXXTTTXXXTTT XXXXXXXXXXXXXXXTTTXXXTTT XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXTTT XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

แบบฝึกหัด [ตัดคำหยาบ] เก็บคำหยาบไว้ในอะเรย์ โคตร ว่ะ แม่ง โว้ย Name : สมชาย Email : Som-hotmail.com Detail : นายโคตรหล่อเลยว่ะ Name : สมชาย Email : ไม่ถูกต้อง Submit Detail : นาย****หล่อเลย*** Form8.asp Result8.asp