การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
แนะนำวิทยากร.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Knowledge Management (KM)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน

บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเป็นเน้นที่การเรียน (ทั้งของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ ที่ตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจาก “ครูสอน” (teacher) ไปเป็น “ครูฝึก” (coach) หรือ “ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้” (learning facilitator) และต้องเรียนรู้ทักษะในการทำหน้าที่นี้ โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า PLC (Professional Learning community)

ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดหลักสอนน้อย เรียนมาก “ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑” ( 21st Century Skills) ที่ครูสอนไม่ได้ นักเรียนต้องเรียนเอง หรือพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอำนวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทำ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning)

(21st Century Learning)

สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21

ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ ที่คนทุกคน ต้องเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C 1. 3R ได้แก่ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้) และ(A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)

2. 7C ได้แก่ (1) Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) (2) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) (3) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) (4) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ)

2. 7C ได้แก่ (ต่อ) (5) Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) (6) Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร) (7) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)

ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นโค้ช และเป็น “คุณอำนวย” (facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning) ของศิษย์ ครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมาเป็นโค้ช หรือ “คุณอำนวย” ของการเรียนของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL

วิจัยเกี่ยวข้องกับใครบ้าง 1. ผู้เรียน ทำวิจัยเพื่อเรียนรู้ 2. ผู้สอนทำวิจัยเพื่อพัฒนาการสอน 3. ผู้บริหารทำวิจัยสถาบันหรือการวิจัย เชิงประเมินเพื่อประกันคุณภาพ การศึกษา

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหา การเรียนการสอน หรือ เพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้สามารถพัฒนาได้เต็มศักยภาพ Input Output Process

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1. เป็นการวิจัยที่ก่อให้เกิดการพัฒนาผู้เรียน ตั้งแต่เริ่มทำวิจัยจนกระทั่งเสร็จสิ้นการวิจัย ทำให้การคิดค้นวิจัยและการใช้ผลการวิจัยเกิดขึ้นในกระบวนการเดียวกัน และมีการนำผลไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนที่เป็นพลวัต

เป็นการวิจัยที่มีลักษณะเป็นการวิจัยและพัฒนา (research and development) ทำให้ได้นวัตกรรมการเรียนการสอนซึ่งพัฒนาขึ้นจากความรู้และประสบการณ์ของครูผู้ทำวิจัยที่เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน

เป็นการวิจัยที่ทำให้อาจารย์เกิดการเรียนรู้อันเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากสร้างสรรค์ความคิด การทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง และสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน

เป็นการวิจัยที่มีส่วนในการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ขององค์กร อันเนื่องมาจากลักษณะสำคัญของขั้นตอนการวิจัยที่ต้องมีการสะท้อนผล (reflection)

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยและพัฒนา ( Research and Development) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( Action Research)

ความหมายของการวิจัยและพัฒนา - กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่หรือสิ่งใหม่ที่ประกอบด้วยกระบวนการวิจัย(research)และกระบวนการพัฒนา(development)อย่างต่อเนื่อง - กระบวนการศึกษาและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อนำไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน

ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation ) - แนวคิด วิธีการ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พัฒนาขึ้นและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง/พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ประเภทของนวัตกรรม นวัตกรรมประเภทสื่อสิ่งพิมพ์หรือโสตทัศนูปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน ชุดการเรียน เป็นต้น นวัตกรรมด้านการสอน เช่น การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก การสอนโดย ใช้การวิจัยเป็นฐาน การสอนโดยเน้นกระบวนการ เรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการวิจัย กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด เป็นต้น

ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา 1. ขั้นการวิเคราะห์ 1.1 ปัญหาการเรียนการสอน - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ความรับผิดชอบ ความตั้งใจเรียน ฯลฯ 1.2 ความต้องการจำเป็น(Need Assessment) 2. ขั้นออกแบบและพัฒนานวัตกรรม 2.1 การพัฒนานวัตกรรม(วิธีการสอน,กิจกรรม) 2.2 ตรวจสอบนวัตกรรม

ขั้นตอนการสร้างและพัฒนา 3. ขั้นการทดลองใช้วัตกรรม 3.1 ทดลองใช้นวัตกรรม 3.2 วัดผลจากการใช้นวัตกรรม 4. ขั้นประเมินนวัตกรรม 4.1 ประเมินนวัตกรรม 4.2 ประยุกต์ใช้และเผยแพร่นวัตกรรม

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัย (research) หมายถึงกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์ การปฏิบัติ (action)หมายถึงการนำสิ่งที่คิดค้นขึ้นใหม่ไปทดลองปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น บริบทที่ทำวิจัย (setting)หมายถึงสถานที่หรือบริบทที่ทำวิจัยคือ ห้องเรียน (classroom) มหาวิทยาลัย(university)ชุมชน (community)

การวิจัยเชิงปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานหรือเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการโดยผู้ปฏิบัติงานเป็ผู้ดำเนินการวิจัยในสถานที่ที่ตนเองปฏิบัติอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่แท้จริง

วงจรการวิจัยเชิงปฏิบัติการ Plan P Reflect Act R A O Observe

The Action Research Spiral Reflect Reflect Observe Observe

วงจรคุณภาพ P A D C

Improving and Developing Teaching and Learning Researching Improving and Developing ศ.ดร.สุวิมล ว่องวาณิช

ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผู้ปฏิบัติงานคือผู้วิจัย = ผู้วิจัยคือผู้ปฏิบัติงาน สิ่งที่วิจัยคือ งานที่ทำ นำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพการ ปฏิบัติงานให้ดีขึ้น กระบวนการวิจัยเอื้อต่อการเรียนรู้ในงานที่ตนเองปฏิบัติ เรียนรู้ว่าปฏิบัติอย่างไรได้/ไม่ได้ผล เพราะอะไร ควรทำอะไรต่อไป

ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 1. สังเกตปรากฏการณ์ในชั้นเรียน/การปฏิบัติงานของตน 2. วิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหาค้นหาสาเหตุของปัญหา 3. วางแผนแก้ปัญหา...หาวิธีที่เหมาะสม 4. ดำเนินการแก้ปัญหา 5. สังเกตการเปลี่ยนแปลง 6. วางแผนแก้ปัญหาต่อหากไม่ได้ผล 7. ดำเนินการต่อเนื่อง

Participant Observation การรวบรวมข้อมูล 1. Process – สังเกต+พูดคุย - การสอน (ผู้สอน) - การเรียน (ผู้เรียน) 2. Outcomes - วัดการเปลี่ยนแปลง - เชิงคุณภาพ ผู้สอน - เชิงปริมาณ + เชิงคุณภาพ ผู้เรียน Journal, Diary Participant Observation Indirect Observation Informal Interview

ข้อมูลในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผู้สอน - วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียน  พฤติกรรมผู้เรียน -ความสนใจ-ทัศนคติ -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน -คุณลักษณะอื่นๆ ตามมาตรฐานคุณภาพ ผู้เรียน  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิด

หลักการตั้งโจทย์วิจัย 1. อย่าตั้งโจทย์วิจัยที่เน้นแต่สภาพปัญหา 2. อย่าตั้งโจทย์วิจัยเพื่อตรวจสอบว่าปัญหานั้นเป็นจริงหรือไม่ 3. ตั้งโจทย์วิจัยที่มีความลึกซึ้ง เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน 4. โจทย์วิจัยมีความเฉพาะเจาะจง

ลักษณะของโจทย์ปัญหาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนที่ดี 1. สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 2. มีความจำเป็น ชัดเจนดี มีคุณค่า 3. เป็นปัญหาปัจจุบัน 4. อยู่ในวิสัยที่จะทำได้สำเร็จ

ระดับของโจทย์ปัญหาวิจัย ระดับที่ 1 โจทย์ปัญหาวิจัยที่เกี่ยวกับ การศึกษาสภาพของผู้เรียน ระดับที่ 2 โจทย์เกี่ยวกับการวิเคราะห์สาเหตุ ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดปัญหา ระดับที่ 3 โจทย์เกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา

สิ่งที่ต้องพิจารณาออกแบบการวิจัย - การกำหนด treatment เพียงพอต่อการส่งผลต่อผู้เรียนในระยะเวลาที่เหมาะสม - การนิยามตัวแปรที่มุ่งวัดให้ชัดเจน - การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูล

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1. ควรเป็น Action research : มุ่งแก้ไข/พัฒนา หลักสูตร กลยุทธ์การเรียนการสอน การประเมินการเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอน รูปแบบการฝึกงาน / การเสริมประสบการณ์ตรง

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (ต่อ) 2. จุดเริ่มต้น - ปัญหาการเรียนการสอน 3. บริบทการวิจัย & การนำไปใช้ - ในวิชาเรียนนั้นๆ - โปรแกรมนั้นๆ ภาคเรียนนั้นๆ - กลุ่มเป้าหมายนั้นๆ - ช่วงเวลานั้นๆ

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (ต่อ) 4. การวิจัยผสมผสานเข้ากับการเรียน - สอนไป..........วิจัยไป............ 5. Action (สิ่งที่ทดลองปฏิบัติ) - มีความหมาย มีประโยชน์ - เป็นไปได้ มีหลักการรองรับ - ยั่งยืน - อยู่บนพื้นฐานความถูกต้องและมีจริยธรรม

ลักษณะการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (ต่อ) 6. กระบวนการวิจัย ยืดหยุ่นไม่ซับซ้อน 1). รูปแบบการทดลอง อาทิ ศึกษากลุ่มเดียว X O O1 X O2 ศึกษา 2 กลุ่มเปรียบเทียบ X O ~ X O

2). ใช้ตัวแปรที่สะท้อนการทดลอง ความรู้ ความคิด การแก้ปัญหา ความคิดเห็น ความรู้สึก เจตคติ ค่านิยม Affective cognitive Psychomotor Psychomotor ทักษะการทำงาน กระบวนการทำงาน พฤติกรรมการ ทำงาน

3). ใช้ข้อมูลหลากหลาย ข้อสอบ แบบสอบถาม ฯลฯ การสนทนา การสัมภาษณ์ การสังเกต เอกสาร เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

4). วิเคราะห์และนำเสนอผลไม่ซับซ้อน - ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติพื้นฐาน เสนอด้วยตาราง หรือแผนภาพ - ข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ เชิงบรรยาย / วิเคราะห์เนื้อหา

5). มีกระบวนการสะท้อนความคิด(reflection) สะท้อนก่อน – ระหว่าง – หลัง การวิจัย การมีส่วนร่วมจากผู้เรียน เพื่อนอาจารย์ ใช้ผลสะท้อนเพื่อปรับเปลี่ยน Action

6). รายงานผลการวิจัย 7). นำผลวิจัยมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ - สรุปสั้นๆ ตรงประเด็น - มีร่องรอย หลักฐาน 7). นำผลวิจัยมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้

การเขียนรายงานการวิจัย 1 รายงานวิจัยแบบไม่เป็นทางการ ประกอบด้วยประเด็นสำคัญ เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ตัวแปรในการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และผลการวิจัย 2 รายงานวิจัยแบบเป็นทางการ มีลักษณะเหมือนรายงานวิจัยเชิงวิชาการทั่วๆ ไป ที่ใช้กันในหมู่นักวิจัย มักนำเสนอในรูป 5 บท คือ

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตการวิจัย - กลุ่มประชากร/กลุ่มตัวอย่าง - เนื้อหา - ตัวแปร ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดในการวิจัย

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย รูปแบบการวิจัย ขั้นตอนการดำเนินการ เครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

แนวทางทำให้งานวิจัยมีคุณภาพ

ให้ความสำคัญมากกับการออกแบบวิจัย 1. สามารถมั่นใจว่าผลที่เกิดขึ้นมาจากวิธีการแก้ไขปัญหาที่ครู คิดค้นขึ้นไม่ใช่มาจากปัจจัยอื่น ทุกขั้นตอนของการวิจัย ต้องมีการตรวจสอบความคิดของอาจารย์เพื่อขจัดจุดอ่อนของงานวิจัยที่ขาดทฤษฎีรองรับโดยใช้การวิพากษ์วิจารณ์จากเพื่อนอาจารย์เป็นกลไกสำคัญ

3. ปัญหาของนักเรียนต่างกัน และทดลองสอนโดย ใช้รูปแบบการสอนแบบเดียวกันกับนักเรียนทั้งห้อง ไม่ใช่การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ทีแท้จริง 4. เพื่อให้การวิจัยสามารถใช้กับนักเรียนได้ในวงกว้าง และในหลาย ๆ บริบท ควรทดลองทำวิจัยซ้ำกับนนักเรียนหลาย ๆ กลุ่ม เพื่อเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้น

ลงมือคิดและลงมือทำ การเรียนการสอนก็จะดี มีงานวิจัย นำไปใช้ประโยชน์ได้ ก้าวหน้าในอาชีพ

ขอขอบคุณ