ผ.ศ(พิเศษ).น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H. Sample Size ผ.ศ(พิเศษ).น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
Research Question Estimation Incidence=? Prevalence=? Association ? เช่น หาความสัมพันธ์ระหว่างสูบบุหรี่และมะเร็งปอด Differences ? ต่างกันหรือไม่ เช่น ยาใหม่ดีกว่ายาเก่าหรือไม่
Research Design การประมาณค่า เช่น Incidence, Prevalence ทำในคนกลุ่มเดียว หาความสัมพันธ์ Association อาจเป็นกลุ่มเดียวหรือ 2 กลุ่มเช่น ความสัมพันธ์ของน้ำหนักและส่วนสูงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีในตำบลนั้น หรือเรื่องการใส่ห่วงอนามัยกับเกิดอาการอักเสบ ก็จะมี 2 กลุ่มคือกลุ่มที่ใส่ห่วงอนามัยกับกลุ่มที่ไม่ใส่ เป็นแบบ Case Control หรือแบบ Cohort
Scale of Measurement Nominal Scale (เช่น ชาย, หญิง วิเคราะห์โดย Mode, Frequency) Ordinal Scale (เรียงลำดับได้ เช่น คะแนน Grade A, B, C) Interval Scale (arbitrary zero, ระยะห่างของแต่ละหน่วยเท่าๆกัน หาค่าเฉลี่ยได้ เช่น องศาเซลเซียส, ฟาเรนไฮต์) Ratio Scale (true zero) น้ำหนัก, รายได้
Counted or Measurement ได้จากการนับเป็นเลขจำนวนเต็ม ได้จากการ ชั่ง ตวง วัด เป็นเลขมีจุดทศนิยมได้ มีค่าต่อเนื่อง
Alpha and Beta errors Truth Correct a Error B Error A = B CONCLUSION drawn from analysis Accept H1 H1 : A = B Accept H0 H0 : A = B
Sample Size Za/2ที่ a=0.05 = 1.96 P = อัตราเกิดเหตุการณ์ d = acceptable error
ถ้ารู้ Population ที่แน่นอน http://www.surveysystem.com/ssformu.htm
ข้อมูลชนิดนับ ต้องการประมาณการเกิดโรคตาแดงในเด็กนักเรียนปี 2546 อัตราเกิดโรคตาแดงเดิม 12% ยอมให้ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 3% za/2=1.96 (two tail) p=0.12 q=1-.12 d=0.03 n = (1.96)2(.12)(1-.12)/(0.03)2 = 451 คน
ข้อมูลชนิดต่อเนื่อง ต้องการประมาณค่า น้ำหนักเด็กแรกเกิด ยอมให้ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 50 กรัม ข้อมูลเดิมน้ำหนักเด็กแรกเกิด 3,000 + 400 กรัม za/2=1.96 (two tail) d=50 n=z2s2/d2 n=(1.96)2(400)2/(50)2 = 246 คน