๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การกระทำทางสังคม (Social action)
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การจัดระเบียบทางสังคม
การบริหารกลุ่มและทีม
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์
LEADERSHIP.
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
The Five Bases of Power.
การสร้างวินัยเชิงบวก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
ประโยชน์ของค่ายประถมศึกษา
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization) คือ การทำให้คนอยู่รวมกันในสังคมอย่างเป็นระเบียบ ประพฤติปฏิบัติภายใต้แบบแผน กฎเกณฑ์อันเดียวกัน เพื่อให้สังคมดำรงอยู่สืบต่อไป ประกอบด้วย 1. บรรทัดฐาน (Norms) 2. สถานภาพ (Status) 3. บทบาท (Role)

1.บรรทัดฐาน (Norms) คือ มาตรฐานความประพฤติ ที่สมาชิกสังคมกำหนดเป็นระเบียบ กฎเกณฑ์/แบบแผนการปฏิบัติในสถานการณ์หนึ่ง ๆ เพื่อเป็นแนวทางให้สมาชิกปฏิบัติเป็นรูปแบบเดียวกัน

บรรทัดฐานมี 3 ประเภท 1.1 วิถีประชา (Folkways) 1.2 กฎศีลธรรม/จารีต (Mores) 1.3 กฎหมาย (Laws)

- มีอิทธิพลเหนือความนึกคิดของมนุษย์ - กำหนดว่า ในสถานการณ์หนึ่ง ๆ บุคคลควร ปฏิบัติอย่างไร - ลดปริมาณการตัดสินใจในการปฏิบัติในสถานการณ์ ต่าง ๆ - มีการลงโทษ ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ

1.1 วิถีประชา (Folkways) - แนวทางปฏิบัติทั่วไปจนเคยชิน - ทำต่อ ๆ กันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ - ไม่มีกฎหมายหรือข้อบังคับให้ปฏิบัติ ไม่บังคับเด็ดขาด - ลงโทษไม่รุนแรง/ไม่เป็นทางการ (ตำหนิ ถูกมอง นินทา หัวเราะเยาะ)

1.2 กฎศีลธรรมหรือจารีต (Mores) - เกี่ยวข้องกับความดีความชั่ว คุณธรรม สำคัญต่อส่วนรวม - บังคับเข้มงวดกว่า 1 เป็นข้อห้าม (Taboo) - ใช้ในสังคมแคบ ๆ แบบไม่เป็นทางการ - บังคับแน่นอน ผู้ฝ่าฝืนถูกโต้ตอบรุนแรง ( ไม่คบ รังเกียจ ประจาน ขับไล่ ปรับ )

1.3 กฎหมาย (Laws) - รัฐบัญญัติ บังคับให้ปฏิบัติ - งดเว้นปฏิบัติ - บังคับใช้ทั้งประเทศ - มีทั้งเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร - ลงโทษเป็นทางการ รุนแรงจากน้อยไปมาก

ข้อสังเกตเกี่ยวกับ Norms อาจเหมือน/ ต่างกันได้ 2. บางสังคมจะรับ Norms สังคมอื่นมาเป็น Norms ตนก็ได้ 3. Norms ที่เปลี่ยนแปลงได้ 4. Norms ที่เปลี่ยนแปลงยากคือ Mores 5. Norms บังคับใช้กับกลุ่มเล็ก หรือสังคมโดยส่วนรวมก็ได้

2. สถานภาพ (Status) หมายถึง ตำแหน่งในกลุ่ม (Position in a Groups) ของบุคคล จะกำหนดสิทธิและหน้าที่ทั้งหมดของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้อื่นในสังคม - เป็นสิ่งเฉพาะบุคคล สังคมจะกำหนดไว้ บุคคลไม่ได้กำหนดเอง - แต่ละคนที่อยู่ในสังคมหนึ่ง ๆ จะมีสถานภาพมากมาย - บาง Status มีมาก่อนที่บุคคลนั้นจะได้มา (ตำแหน่งทางการเมือง ตำแหน่งในหน่วยงานต่าง ๆ )

สิทธิ (Rights) หน้าที่(Duties) คือ ความสามารถที่บุคคลนั้นพึงกระทำ พึงได้ตามตำแหน่งที่ตนครอบครองอยู่ หน้าที่(Duties) คือ พฤติกรรมที่บุคคลต้องกระทำตามตำแหน่งที่ตนครอบครองอยู่

ลักษณะอื่น ๆ ของสถานภาพ 1. สถานภาพจะสูง-ต่ำ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคล 2. สถานภาพเปลี่ยนแปลงได้ 3. จะสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ทั้งอย่างเป็นทางการ/ไม่เป็นทางการ 4. บางสถานภาพ ทำให้เกิดสิทธิหน้าที่พิเศษ 5. บางสถานภาพ จะมีสัญลักษณ์เป็นเครื่องหมายเฉพาะของตน

3. บทบาท (Role) คือ แนวทางพฤติกรรมที่สังคมกำหนด หรือคาดหวังให้บุคคลที่ มีสถานภาพเฉพาะประพฤติปฏิบัติ ในสถานการณ์ต่างๆ - สังคมจะคาดหวังร่วมกันว่าบทบาทควรจะแสดงออกอย่างไร - สถานภาพกับบทบาทเป็นตัวกำกับซึ่งกันและกัน - บทบาท จะมีประจำอยู่ทุกสถานภาพ - บุคคลที่มีสถานภาพเดียวกัน อาจมีบทบาทต่างกันออกไปก็ได้

บทบาทเครียด( Role Strain ) คือ การประพฤติปฏิบัติในบทบาทเดียวกันขัดกันเอง ไม่สามารถปฏิบัติบทบาทได้สมบูรณ์ ทำให้บุคคลลำบากใจที่ต้องทำตามบทบาทที่ตนเองต้องทำ บทบาทขัดแย้ง ( Role Conflict ) คือ การที่บุคคลมีหลายสถานภาพจึงมีหลายบทบาทในเวลาเดียวกัน การปฏิบัติของบทบาทหนึ่งไปขัดกับอีกบทบาทหนึ่ง

ประโยชน์ของสถานภาพและบทบาท 1. รู้ฐานะของบุคคลในสังคม 2. แต่ละคนรู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ 3. เกิดระเบียบในสังคม 4. เกิดการแบ่งหน้าที่ระหว่างสมาชิก

ความเป็นระเบียบของสังคมจะเกิดขึ้นเมื่อใด 1. สมาชิกเข้าใจกฎเกณฑ์/แบบแผนที่ต้องปฏิบัติร่วมกัน 2. สมาชิกเห็นคุณค่าของกฎเกณฑ์ 3. สมาชิกเชื่อว่ากฎเกณฑ์ทำให้สังคมเป็นระเบียบสงบสุข 4. สมาชิกปฏิบัติตาม 5. สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปเหมาะสมกับสถานภาพ และบทบาท 6. สมาชิกได้รับการขัดเกลา/การเรียนรู้ทางสังคม (Socialization)

หน้าที่ของสังคม 1. ดำรงสังคมให้คงอยู่ (ผลิตสมาชิกใหม่) 2. ให้ Socialization 3. ดำรง ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนไว้เพื่อควบคุมสังคม 4. ผลิตและแจกจ่ายสินค้าและบริการ

5. ปลูกฝังสมาชิกให้เห็นคุณค่าตน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัวและสังคม สร้างพลเมืองดีของสังคม 6. บำรุงขวัญ กำลังใจให้สมาชิกปฏิบัติตาม สถานภาพและบทบาทที่สังคมคาดหวัง 7. คุ้มครองความปลอดภัยทั้งทางร่างกาย จิตใจ ทรัพย์สิน คุ้มครองสิทธิมนุษยชน 8. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสังคมให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และกาลสมัย