Experimental Research

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

Research and Development (R&D)
esearch and Development
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
รูปแบบการวิจัย Research Design
การวางแผนและการดำเนินงาน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
แบบแผนการวิจัย เชิงทดลอง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กระบวนการวิจัย Process of Research
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร.
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
EXPERIMENTAL RESEARCH NON-EXPERIMENTAL RESEARCH
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Experimental Research การวิจัยเชิงทดลอง

Experimental Research 1. ความหมาย 2. จุดมุ่งหมาย 3. ลักษณะสำคัญ 4. ความเที่ยงตรง 5. แบบแผนการวิจัย

Experimental Research Experimental research is one of the most research methodologies that researchers can use. Of the many types of research that be use , the experiment is the best way to establish cause- and effect relationships among variables. (Jack R.Fraenkel Norman E.Wallen ,2006)

ความหมายของการวิจัยเชิงทดลอง วิธีการแสวงหาความรู้ความจริงที่กระทำอย่างเป็นระบบโดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ เหมาะสมสำหรับอธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (cause and effect relationship)

จุดมุ่งหมายของการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง 1. เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลตามการประจักษ์ของนักวิจัย 2. เพื่อทดสอบแนวคิดทฤษฎีที่พัฒนาขึ้น 3. เพื่อพิสูจน์ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของผลการศึกษาวิจัย

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงทดลอง 1. การจัดกระทำกับตัวแปรต้นหรือที่เรียกว่าตัวแปรทดลอง 2. มีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน เพื่อ - ให้เกิดผลสูงสุดอันเนื่องจากการกระทำของตัวแปรต้น - เพื่อขจัดตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษาออกไป - เพื่อขจัดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลอง

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงทดลอง 3. มีการออกแบบการทดลองเพื่อให้การวิจัยมีความเที่ยงตรงภายใน(Internal validity) และ ความเที่ยงตรงภายนอก (External validity)

ความเที่ยงตรงของการวิจัยเชิงทดลอง 1. ความเที่ยงตรงภายใน (Internal validity) เป็นการพิจารณาว่าการเปลี่ยนแปลงใด ๆที่เกิดขึ้นในตัวแปรตามเป็นผลมาจากสิ่งทดลองหรือตัวแปรอิสระที่นักวิจัยจัดกระทำขึ้น ไม่ใช่เป็นผลมาจากตัวแปรแทรกซ้อน

ความเที่ยงตรงของการวิจัยเชิงทดลอง 2. ความเที่ยงตรงภายนอก (External validity) เป็นการพิจารณาว่าผลการศึกษาสามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรในวงกว้างภายใต้บริบทแวดล้อมอื่น ๆ เช่น มีสภาพการทดลอง เครื่องมือและวิธีการวัด สถานที่และเวลา

Experimental Designs 1. pre experimental design 2. quasi experimental design 3. true experimental design Campbell and Stanley, 1973) (Tuckman ,1999)

pre experimental designs non randomization non control group experimental group

quasi experimental designs non randomization control group

true experimental designs randomization control group experimental group