พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
Ζ + - Zeta potential ศักย์ซีต้า.
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ความชันและสมการเส้นตรง
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด? 1. 2. 3. 4. 5. ประจุ +Q ถูกตรึงให้อยู่นิ่ง ประจุ +q ตอนแรกอยู่ห่างจาก +Q เป็นระยะ r1 ต่อมา เคลื่อนที่ตามเส้นทางในรูป เป็นระยะ R จนมาอยู่ที่ระยะห่างจาก +Q เป็นระยะ r2 พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด? 1. 2. 3. 4. 5. 34 1

พลังงานศักย์ของประจุหลายตัว ประจุ Q1 กับประจุ Q2 อยู่ห่างกัน d เมื่อเอาประจุ q จากระยะอนันต์มาวางให้ห่างประจุ 2 ตัวแรกเป็นระยะ d เท่ากัน พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด? Q1 Q2 d q 2

พลังงานศักย์ของระบบประจุที่เหมือนกัน 3 ตัว โดยแต่ละตัวอยู่ห่างเท่า ๆ กัน d มีค่าเท่าใด 1) 0 2) 3) 4) 5) Q d Q Q d Q d งานที่ต้องทำในการนำประจุตัวแรกมาวาง: U1 = 0 งานที่ต้องทำในการนำประจุตัวที่สองมาวาง : งานที่ต้องทำในการนำประจุตัวที่สองมาวาง : 3

พลังงานศักย์ของระบบประจุ 3 ตัวขนาดประจุเท่ากัน โดย 2 ตัวเป็นประจุบวกแต่อีกตัวเป็นประจุลบ โดยแต่ละตัวอยู่ห่างเท่า ๆ กัน d มีค่าเท่าใด 1) 0 2) 3) 4) 5) Q -Q d 4

ศักย์ไฟฟ้า Electric Potential ค่าพลังงานศักย์ที่เปลี่ยนไปของประจุ q เมื่อเคลื่อนจาก a ไป b ในสนามไฟฟ้าคือ: ตอนนี้เราจะนิยามปริมาณใหม่ที่ไม่ขึ้นกับ q แต่เป็นปริมาณที่ขึ้นกับตำแหน่งคือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด a กับ b ว่าคือพลังงานศักย์ต่อหน่วยประจุ The purpose of this Check is to jog the students minds back to when they studied work and potential energy in their intro mechanics class. คล้ายกับนิยามของสนามไฟฟ้า: 5

การหาค่าศักย์ไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้า พิจารณาจุด 3 จุด A, B, กับ C ในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีค่าคงตัวดังรูป D Dx ความต่างศักย์ระหว่างจุด C กับ A (DVAC = VC - VA ) มีค่าเป็นอย่างไร? (1) DVAC < 0 (2) DVAC = 0 (3) DVAC > 0 6

เป็นศูนย์ที่อย่างน้อยจุดใดจุดหนึ่งในบริเวณนั้น มีค่าคงตัวในบริเวณนั้น ถ้าสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ในบริเวณหนึ่ง แสดงว่าศักย์ไฟฟ้าบริเวณนั้นมีค่าเป็นอย่างไร ? เป็นศูนย์ด้วย เป็นศูนย์ที่อย่างน้อยจุดใดจุดหนึ่งในบริเวณนั้น มีค่าคงตัวในบริเวณนั้น บอกไม่ได้เพราะข้อมูลยังไม่เพียงพอ A B D V คงตัว !! 7

ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะ r ห่างจากจุดประจุ Q มีค่า

การสนามไฟฟ้าจากศักย์ไฟฟ้า หาค่าศักย์ไฟฟ้าจากสนามไฟฟ้าโดยการอินทิเกรต: หาค่าสนามไฟฟ้าจากศักย์ไฟฟ้าโดยการอนุพันธ์ ระบบพิกัด x, y, z: The purpose of this Check is to jog the students minds back to when they studied work and potential energy in their intro mechanics class. 9

ค่าศักย์ไฟฟ้าที่บริเวณหนึ่งขึ้นกับตำแหน่ง x เป็นดังภาพ: ที่จุดใด สนามไฟฟ้ามีขนาดมากที่สุด? 1) A. 2) B. 3) C. 4) D. 10

ค่าศักย์ไฟฟ้าที่บริเวณหนึ่งขึ้นกับตำแหน่ง x เป็นดังภาพ: 1) A. 2) B. 3) C. 4) D. 11

ผิวสมศักย์ Equipotentials จุดบนผิวสมศักย์ มีค่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน Equipotentials produced by a point charge ผิวสมศักย์ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าเสมอ ความถี่ระหว่างเส้นหรือผิวสมศักย์แปรตามความเข้มสนามไฟฟ้า 12

จุดใด ความเข้มสนามมีค่าน้อยที่สุด? 1) A. 2) B. 3) C. 4) D. ในภาพด้านล่างนี้ แสดงเส้นแรง (เส้นทึบที่มีลูกศรกำกับ) กับเส้นสมศักย์ (เส้นประ)ในบริเวณหนึ่ง จุดใด ความเข้มสนามมีค่าน้อยที่สุด? 1) A. 2) B. 3) C. 4) D. 13

A B C D ในภาพด้านล่างนี้ แสดงเส้นแรง (เส้นทึบที่มีลูกศรกำกับ) กับเส้นสมศักย์ (เส้นประ)ในบริเวณหนึ่ง เปรียบเทียบงานที่ทำในการเคลื่อนประจุจาก A ไป B กับ จาก C ไป D งานที่ทำระหว่างจุดใดมีค่ามากกว่ากัน? 1. จาก A ถึง B 2. จาก C ถึง D 3. เท่ากัน 4. บอกไม่ได้ทันทีต้องนั่งคำนวณก่อน 08 14

A B C D ในภาพด้านล่างนี้ แสดงเส้นแรง (เส้นทึบที่มีลูกศรกำกับ) กับเส้นสมศักย์ (เส้นประ)ในบริเวณหนึ่ง เปรียบเทียบงานที่ทำในการเคลื่อนประจุจาก A ไป B กับ จาก A ไป D งานที่ทำระหว่างจุดใดมีค่ามากกว่ากัน? 1. จาก A ถึง B 2. จาก A ถึง D 3. เท่ากัน 4. บอกไม่ได้ทันทีต้องนั่งคำนวณก่อน 08 15