หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
Ultrasonic sensor.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หลักการแก้ปัญหา
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ทรงกลม.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง ตอนที่ 6.1 การแทรกสอดของคลื่นแสงจากแหล่งกำเนิดแสง 2 แหล่ง เงื่อนไขของการแทรกสอด การทดลองของยัง การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง ตอนที่ 6.2 การแทรกสอดที่เกิดจากแหล่งกำเนิดแสงหลายแหล่ง การบวกเฟเซอร์ของคลื่น ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 3 ช่อง ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว N ช่อง

เงื่อนไขของการแทรกสอด 1. แหล่งกำเนิดแสงเป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ (Coherent source) -ความสัมพันธ์ของเฟสระหว่างแหล่งกำเนิดแสงทั้งหมดมีค่าคงที 2. แหล่งกำเนิดแสง เป็นแสงที่มีความยาวคลื่น (Wavelength) เดียว  -(Monochromatic) หรือความถี่เดียว 3. การรวมกันของคลื่นเป็นแบบการซ้อนทับกัน (Superposition)

จะเห็นว่า เฟส 0 กับ 2 คลื่นจะมีลักษณะเดียวกัน เฟส คือ อะไร จะเห็นว่า เฟส 0 กับ 2 คลื่นจะมีลักษณะเดียวกัน จึงไม่สามารถทราบได้ว่า เฟส ของคลื่นเริ่มที่ใด สิ่งสำคัญคือให้พิจารณาความต่างเฟส ระหว่างคลื่นทั้งสอง http://www.isvr.soton.ac.uk/SPCG/Tutorial/Tutorial/Tutorial_files/Web-basics-nature.htm

การรวมคลื่น เฟส ของคลื่นตรงกัน แอมพลิจูดเพิ่มขึ้น “เสริมกัน” http://www.isvr.soton.ac.uk/SPCG/Tutorial/Tutorial/Tutorial_files/Web-basics-nature.htm

แอมพลิจูดรวมเป็นศูนย์ “หักล้างกันหมด” การรวมคลื่น เฟส ต่างกัน 180° แอมพลิจูดรวมเป็นศูนย์ “หักล้างกันหมด” http://www.isvr.soton.ac.uk/SPCG/Tutorial/Tutorial/Tutorial_files/Web-basics-nature.htm

สรุปการแทรกสอด สิ่งสำคัญคือ ผลต่างเฟส ของคลื่นที่เกิดการแทรกสอดกัน ถ้าเฟสตรงกันหรือต่างกัน เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกัน ถ้าเฟสต่างกัน จะเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกัน เฟสของคลื่นอาจจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาได้ แต่ผลต่างของเฟสจะต้องคงที่ตลอดเวลา (coherent = แหล่งกำเนิดอาพันธ์) ผลต่างเฟส ********* ผลต่างของระยะทางคลื่นเคลื่อนที่

การทดลองแบบสลิตคู่ของยัง (Young’s double-slit experiment)

การทดลองแบบสลิตคู่ของยัง การแทรกสอดบนฉากรับ

การรวมกันของคลื่นบนฉากรับ มืด 0 สว่าง สว่าง ทำไมเฟสต่างกัน??? ผลต่างเฟส

m = 1 m = 0   Path difference :    

    m = 2 m = 1   m = 1   m = 0   m = 0 m = -1   m = -1   m = -2

               

การแทรกสอดของแถบสว่าง     ฉากรับ   d   y = 0 L >> d      

การแทรกสอดของแถบมืด     ฉากรับ     d   y = 0 L >> d      

ตัวอย่าง: d L >> d ฉากรับ d = 0.1 mm และ L = 50 cm สำหรับ  = 400 nm และ  = 700 nm ฉากรับ ก. การแทรกสอดของแถบสว่างอันดับแรกของความยาวคลื่นทั้งสองมีระยะห่างเท่าไร? m = 1 สำหรับแถบสว่าง     m = 1 d   L >> d ระยะห่างระหว่างแถบสว่างของความยาวคลื่นทั้งสองมีค่า = 1.5 mm ข. การแทรกสอดของแถบสว่างอันดับที่สองของความยาวคลื่นทั้งสองมีระยะห่างเท่าไร ? ค. การแทรกสอดของแถบมืดอันแรกของความยาวคลื่นทั้งสองมีระยะห่างเท่าไร ?

การกระจายความเข้มแสงจากการแทรกสอด ที่จุด P

การกระจายความเข้มแสงจากการแทรกสอด                  

การกระจายความเข้มแสงจากการแทรกสอด  

การรวมคลื่นด้วยแผนภาพเฟเซอร์    

    x          

วิธีเขียนแผนภาพเฟเซอร์      

  and          

  and          

         

การแทรกสอดจากสลิต 3 ช่อง

 

การเปลี่ยนเฟสเนื่องจากการสะท้อน การศึกษาริ้วการแทรกสอดด้วยกระจกของลอยด์ พบว่าเกิดแถบมืดที่จุด P’ ซึ่งเป็นจุดที่แสงจากแหล่ง กำเนิดเดินทางมาเป็นระยะทางเท่ากัน แสดงว่าแหล่งกำเนิดแสงมีเฟสต่างกัน 180°

การแทรกสอดในฟิล์มบาง เงื่อนไขของแถบสว่าง เงื่อนไขของแถบมืด

วงแหวนนิวตัน เลนส์บาง

ฟิล์มไม่สะท้อนแสง ความหนาน้อยที่สุดที่ จะทำให้เกิดการแทรกสอด แบบหักล้างกัน m = 0