นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (Effect of music therapy on anxiety and pain in cancer patients) ชื่อผู้วิจัย.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
Thailand Research Expo
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
การร่วมค้า (Joint Venture)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กรณีศึกษา warfarin.
กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
กรณีตัวอย่าง.
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การเป็นลมและช็อก.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
โรคเบาหวาน Diabetes.
โรคหัวใจ.
เหตุการณ์สำคัญทางเทคโนโลยีในมุมมองของนักเคมี III. สุขภาพและการแพทย์ ความรู้ทางด้านเคมีได้มีส่วนช่วยชีวิตคนจำนวนมากทางด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ทำให้ เรามีชีวิตอยู่ยืนยาวขึ้น.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
Patient Monitoring นำเสนอโดย นายกันต์ ศิริงามเพ็ญ KMITL
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายปัทชา กระแสร์เสียง M5010141 นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M5010349 Effect of Heart Stress on Thermoregulatory Response in Congestive Heart Failure Patients นายปัทชา กระแสร์เสียง M5010141 นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M5010349

CHF

หัวข้อนำเสนอ ภูมิหลัง Introduction กลุ่มตัวอย่าง วิธีการทดลอง ผลการทดลอง การอภิปราย Link paper

ภูมิหลังงานวิจัย จากการศึกษาทางด้านการแพทย์มีข้อแนะนำว่า การได้รับ Heat Stress อาจทำให้เกิดอาการป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ นอกจากนี้อาจยังมีส่วนทำให้หัวใจห้องขวาทำหน้าที่ผิดปกติไปและอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวด้วย Back

Introduction ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (CHF)มักอาการกำเริบในช่วงหน้าร้อนซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าผู้ป่วยบางส่วนมีอาการหัวใจล้มเหลว เนื่องมาจากอากาศร้อน ในผู้ป่วย CHF มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกลไกของเลือดมีผลต่อการควบคุม Stroke Volume ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนมีผลต่อ Reflex ที่ควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจและความต้านทานของเส้นเลือดถูกรบกวน Back

กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้ป่วย CHF มีทั้งหมด 2 กลุ่มๆละ 14 คน แบ่งเป็นกลุ่ม Control และกลุ่มทดลอง โดยมีคุณสมบัติดังนี้ New York Heart Association Class II-III ค่า Ejection Fraction <0.4 ค่า SBP ไม่มากกว่า 140 mmHg ไม่มีการอุดตันการไหลเวียนในหลอดเลือดแดง (Aorta) Back

วิธีการทดลอง ให้ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมได้แก่ เดิน วิ่ง และขี่จักรยานอย่างเหมาะสมภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด งดการสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน/แอลกอฮอล์ และออกกำลังกายก่อนหน้าการศึกษาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง การวัดผลทำโดย อัตราการไหลเวียนโลหิตที่ผิวหนังบริเวณปลายแขน ค่าเฉลี่ยของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขนระหว่างที่มีความร้อน อัตราการขับเหงื่อที่ปลายแขน การนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขน Back

ผลการทดลอง จากการทดสอบสมมติฐานที่ว่า ผลตอบสนองต่อการควบคุมอุณหภูมิทำให้อาการของผู้ป่วยลดลง ได้มีการประเมินจากการขยายของเส้นเลือดที่บริเวณผิวหนัง และอัตราการไหลของเหงื่อของผู้ป่วย ด้วย Class II – III CHF ที่คงที่ และจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม Control และกลุ่ม Heat Stress จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า Whole – Body Heating มีผลการชักนำให้มีการเพิ่มอุณหภูมิในร่างกาย (0.85องศา) ในทั้งสองกลุ่ม Forward

การทดลองและผล (ต่อ) การตอบสนองของเหงื่อ ในกลุ่ม CHF ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากกลุ่ม Control การนำไฟฟ้าของเส้นเลือดปลายแขน ของกลุ่ม CHF ลดลงเกือบ 50% จากกลุ่ม Control อย่างมีนัยสำคัญ ความสามารถในการขยายตัวของหลอดเลือด ในกลุ่ม CHF ต่ำกว่ากลุ่ม Control อย่างมีนัยสำคัญ มีข้อเสนอว่าควรมีการเปลี่ยน Model ในการทดลองอาจทำให้สามารถจำกัดการขยายตัวของหลอดเลือดที่ผิวหนัง ในขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นได้ Forward

Forward

อัตราการไหลเวียนโลหิตที่ผิวหนังบริเวณปลายแขน มีการตอบสนองก่อนมีความร้อนและเมื่อได้รับความร้อนสูงสุด Forward

ค่าเฉลี่ยของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขนเพิ่มขึ้น ระหว่างที่มีความร้อน ทั้งสองกลุ่ม Forward

อัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุดของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขน Forward

ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นของอัตราการขับเหงื่อที่ปลายแขนเมื่อเกิดความร้อนทั้งสองกลุ่มทั่วร่างกาย Forward

สรุปผลการทดลอง ผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่ม CHF มีอาการของ การตอบสนองของการขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนัง ลดลงทั้งกลุ่มที่เป็นกลุ่ม Hole – body heating และ Local Heating แต่การตอบสนองของเหงื่อยังสามารถรักษาสภาพเดิมไว้ได้ ส่วนการลดการขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนัง อาจจะมีกลไกที่ทำให้เกิดการไม่ทนความร้อนของผู้ป่วยในกลุ่ม CHF Back

การอภิปรายผล การขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนังมีการตอบสนองลดลงในร่างกายทุกส่วนและความร้อนที่เกิดเฉพาะที่ลดลงกับผู้ป่วยในกลุ่ม CHF การตอบสนองต่อการขับเหงื่อไม่มีผลต่อคนไข้เหล่านี้ และความร้อนที่สูญเสียไปเมื่ออุณหภูมิที่สูงขึ้น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำลงในผู้ป่วยเหล่านี้ Forward

อภิปราย(ต่อ) ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นเหล่านี้ เลือกการไหลเวียนของเลือดในชั้นผิวหนัง โดยการควบคุมของระบบประสาทให้มีการควบคุมการไหลเวียนของเลือดในชั้นผิวหนัง เลือกสารสื่อประสาท เพื่อตอบสนองเพื่อตอบสนองต่อการขยายตัวของเส้นเลือด ผลของการเปลี่ยนโครงสร้าง Cutaneous vasculature Present web

New York Heart Association ClassPatient Symptoms Class I (Mild)No limitation of physical activity. Ordinary physical activity does not cause undue fatigue, palpitation, or dyspnea (shortness of breath). Class II (Mild)Slight limitation of physical activity. Comfortable at rest, but ordinary physical activity results in fatigue, palpitation, or dyspnea. Class III (Moderate)Marked limitation of physical activity. Comfortable at rest, but less than ordinary activity causes fatigue, palpitation, or dyspnea. Class IV (Severe)Unable to carry out any physical activity without discomfort. Symptoms of cardiac insufficiency at rest. If any physical activity is undertaken, discomfort is increased.