MATLAB Week 7.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

Antiderivatives and Indefinite Integration
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chapter 1 Functions and Their Graphs 1. 6 – 1
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
Chapter 3 Interpolation and Polynomial Approximation
Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การกำหนดรายการหัวข้อ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
อนุกรมกำลัง (power series)
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอินติกรัลเชิงตัวเลข การหาค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข อ.ดร.ชโลธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
Treatment of Experimental result
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
Operators ตัวดำเนินการ
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
วิธีการทำงานของผังงาน
ระบบกฎของ FUZZY.
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Operators ตัวดำเนินการ
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MATLAB Week 7

Numerical Integration and Differentiation ความหมายของค่าอนุพันธ์โดยประมาณ

การหาค่าอนุพันธ์ด้วย MATLAB คำสั่ง diff(x) หาค่าความแตกต่างระหว่าง element ต่างๆ ใน x ผลที่ได้คือ [x(2)-x(1), x(3)-x(2),…,x(n)-x(n-1)] diff(x,n) หาค่าความแตกต่างระหว่าง element ต่างๆ ใน x n เป็นจำนวนครั้งของความแตกต่าง

ตัวอย่าง หาอนุพันธ์ของ A เทียบต่อ h หาอนุพันธ์ของ A เทียบต่อ B

การหาค่าอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นด้วย MATLAB อนุพันธ์อันดับ 1 ของฟังก์ชั่น cos(x) + sin(x) กำหนดค่าตัวแปร x ให้เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

การหาค่าอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นด้วย MATLAB อนุพันธ์อันดับ 2 ของฟังก์ชั่น หาอนุพันธ์เทียบต่อ x หาอนุพันธ์เทียบต่อ y

การหาค่าอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นด้วย MATLAB อนุพันธ์ของฟังก์ชั่นพหุนาม polyder(A) หาอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นพหุนาม เมื่อ A คือ เวกเตอร์ สปส

การอินทิเกรตเชิงตัวเลข การอินทิเกรต คือ การนำส่วนย่อยๆ มารวมกันเป็นชิ้นใหญ่

การอินทิเกรตเชิงตัวเลข กฎสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal rule)

กฎสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal rule) คำสั่ง trapz(x,y) การหาค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่น y โดยใช้ กฎสี่เหลี่ยมคางหมู cumtrapz(x,y) การหาค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่น y โดยใช้ กฎสี่เหลี่ยมคางหมูแบบสะสม

กฎสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal rule) ตัวอย่าง

กฎของซิมป์สัน (Symson’s rule) คล้ายกับ trapezodalc แต่จะแบ่ง n ออกเป็นสองช่วง ทำให้จำนวนช่วงย่อยต้องเป็นเลขคู่

กฎของซิมป์สัน (Symson’s rule) คำสั่ง Q=quad(‘F’,a,b) การประมาณค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่น F จาก ช่วง a ถึง b โดยใช้ Symson’s rule

กฎของซิมป์สัน (Symson’s rule) ตัวอย่าง

การอินทิเกรตของนิวตัน-โคตส์ เป็นการหาค่าอินทิเกรตโดยใช้ฟังก์ชั่นพหุนามที่มีอันดับสูงๆ มาหาค่าผลลัพธ์ คำสั่ง Q=quad8(‘F’,a,b) การประมาณค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่น F จาก ช่วง a ถึง b โดยใช้กฎของ Newton-Cotes ค่า error = 10-3 (เก่าแล้ว) Q=quadl(‘F’,a,b) การประมาณค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่น F จาก ช่วง a ถึง b โดยใช้กฎของ Newton-Cotes ค่า error = 10-6

การอินทิเกรตของนิวตัน-โคตส์ ตัวอย่าง

การอินทิเกรตของนิวตัน-โคตส์ ตัวอย่าง

การอินทิเกรตฟังก์ชั่น ฟังก์ชั่น int สำหรับการอินทิเกรตฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูปตัวแปร symbolic คำสั่ง int(E) การอินทิเกรตฟังก์ชั่น E int(E,v) การอินทิเกรตฟังก์ชั่น E เทียบกับตัวแปร v int(E,a,b) การอินทิเกรตฟังก์ชั่น E ในช่วง a ถึง b int(E,v,a,b) การอินทิเกรตฟังก์ชั่น E เทียบกับตัวแปร v ในช่วง a ถึง b

การอินทิเกรตฟังก์ชั่น ตัวอย่าง

แบบฝึกหัด ให้เขียนคำตอบลงในกระดาษ จงหาอนุพันธ์ของโจทย์ต่อไปนี้ จงหาค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของ A(t) ที่เวลา t=1.85 จงหาค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของ A(t) ในช่วง 0.8-1.2 จงคำนวณหา ด้วย 3 วิธี เปรียบเทียบคำตอบ 1. 2.

แบบฝึกหัด ให้เขียนคำตอบลงในกระดาษ จงหาค่าอนุพันธ์ และค่าอินทิเกรตของฟังก์ชั่นต่อไปนี้ 1. 2. 3.