การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

สนามกีฬา.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
หัวข้อบรรยาย วก341 สรีรวิทยาของพืชและสัตว์ (ต่อ)
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Rigid Body ตอน 2.
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
MATLAB Week 7.
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
การนำทฤษฎีกราฟมาใช้ในด้าน
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การหาปริพันธ์ (Integration)
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Function and Their Graphs
Equilibrium of a Particle
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
รวมสูตรพื้นที่ผิว และปริมาตร
สวัสดี...ครับ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก  r h
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
พื้นที่ผิว และปริมาตร
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ทรงกลม.
โลกและสัณฐานของโลก.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration การหาปริพันธ์ สามารถถูกนำมาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างเช่น งานทางด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ หรือแม้แต่งานทางด้าน วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต

จงหาพื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชัน และอยู่เหนือแกน x

การหาพื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง Area between Curves การหาพื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง เป็นการประยุกต์ของการหาปริพันธ์จำกัดเขต

จงหาพื้นที่ของส่วนที่ล้อมรอบด้วยเส้นโค้ง และเส้นตรง

การหาปริพันธ์เชิงตัวเลข (numerical integration) ในบางครั้ง อาจเป็นการยากที่จะประยุกต์ใช้การหาปริพันธ์เพื่อหาพื้นที่ใต้กราฟ แต่ด้วยแนวคิดของการประยุกต์ใช้การหาปริพันธ์ เราอาจหาค่าประมาณของพื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชันที่สนใจ โดยที่ไม่จำเป็นต้องหาปริพันธ์ก็ได้ ใช้เพียงแค่การคำนวณพื้นฐานเชิงตัวเลข

แนวคิดหนึ่งในการหาพื้นที่ใต้กราฟที่สนใจ โดยการใช้การหาพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูเข้ามาช่วยในการคำนวณ

จากตัวอย่าง เราสามารถประมาณพื้นที่ใต้กราฟได้ คือ พื้นที่ =

พื้นที่ = ได้ว่า พื้นที่ = สำหรับกรณีที่เราแบ่งช่วงในการประมาณค่าปริพันธ์เท่า ๆ กัน โดยที่ ได้ว่า พื้นที่ =

การประมาณพื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชัน f(x) โดยใช้พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู เมื่อ พื้นที่ = สำหรับกรณีที่เราแบ่งช่วงในการประมาณค่าปริพันธ์เท่า ๆ กัน พื้นที่ = เมื่อ d คือ ความกว้างของช่วงที่ใช้ในการประมาณค่าปริพันธ์

จงประมาณพื้นที่ใต้กราฟของเส้นโค้ง เมื่อ โดยใช้สี่เหลี่ยมคางหมูช่วยในการหาพื้นที่

Volume by the Revolution การหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากการหมุนรอบแกน Volume by the Revolution เราสามารถประยุกต์ใช้การหาปริพันธ์จำกัดเขตเพื่อช่วยในการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากการหมุนรอบแกนได้

จงแสดงว่าปริมาตรของทรงกลมรัศมี a เท่ากับ

จงหาปริมาตรของทรงตัน (solid) ซึ่งเกิดจากการหมุนเส้นโค้ง รอบแกน x

แรง (Force) งาน (work)

ในกรณีที่แรงไม่คงที่

เชือกเส้นหนึ่งยาว 40 เมตร โดยมีน้ำหนัก 2 N ต่อความยาว 1 เมตร ห้อยมาจากยอดตึก จงหางาน (work) ที่คนงานใช้ดึงเชือกขึ้นไปไว้ที่ยอดตึก 40m

กฎของ Hooke

กำหนดให้สปริงมีความยาว 10 cm เมื่ออยู่สภาวะปกติ ถ้าใช้แรง 40N ในการดึงให้สปริงยืดจาก 10cm เป็น 15 cm จงหางานที่ใช้ในการดึงให้สปริงยืดจาก 15cm เป็น 18cm