ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Advertisements

ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
Green’s Theorem ทฤษฎีบทของกรีน.
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
การประยุกต์ใช้อนุพันธ์
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
อนุกรมกำลัง (power series)
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
Application of Graph Theory
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
การหาปริพันธ์ (Integration)
Function and Their Graphs
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
(Applications of Derivatives)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ความชันและสมการเส้นตรง
ทฤษฎีการผลิต.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points ในการศึกษาที่ผ่านมา เราทราบวิธีการหาค่าสูงสุด และค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน 1 ตัวแปร เนื้อหาที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นการขยายแนวความคิดดังกล่าว เพื่อใช้หาค่าสูงสุด และต่ำสุด ของฟังก์ชัน 2 ตัวแปร

ตัวอย่างการประยุกต์ การหาค่าสูงสุดต่ำสุด

มุมและรูปร่างที่เหมาะสมสำหรับการทำรางน้ำ

อนุพันธ์ ความชัน การเปลี่ยนแปลง ความชัน

บทนิยาม ให้ นิยามบนบริเวณ โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน เป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (relative maximum) ของ ถ้าจุด อยู่ในบริเวณ และ สำหรับจุด ทุกๆ จุดที่อยู่รอบๆ

บทนิยาม ให้ นิยามบนบริเวณ โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน เป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ (relative minimum) ของ ถ้าจุด อยู่ในบริเวณ และ สำหรับจุด ทุกๆ จุดที่อยู่รอบๆ

เพื่อความสะดวกเราเรียก ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ และ ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ รวมกันเป็น ค่าสุดขีดสัมพัทธ์ (relative extremum)

minimum minima maximum maxima extremum extrema phenomena phenomenon เรียนภาษาอังกฤษใน Calculus !!!! เอกพจน์ (singular) พหูพจน์ (plural) minimum minima maximum maxima extremum extrema phenomena phenomenon

การทดสอบอนุพันธ์อันดับหนึ่ง สำหรับค่าสุดขีดสัมพัทธ์ ให้ นิยามบนบริเวณ โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน ถ้า เป็นค่าสุดขีดสัมพัทธ์และ สามารถ หาอนุพันธ์ของ ที่จุด ได้แล้ว และ

จงหาค่าของอนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชัน เทียบกับตัวแปร x และ y โดยพิจารณาที่จุด (0,0)

ระวังบทกลับของทฤษฎีดังกล่าวไม่เป็นจริง!!! ถ้า และ ไม่ได้หมายความว่า เป็นค่าสุดขีดสัมพัทธ์

จงหาอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x และ y โดย ตัวอย่าง ให้ จงหาอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x และ y โดย พิจารณาที่จุด (0,0) และแสดงว่า f(0,0) ไม่ใช่ค่า สุดขีด

บทนิยาม เราเรียกจุด บนพื้นผิว ว่าจุดอานม้า ถ้าสามารถหาระนาบในแนวตั้ง 2 แนว ที่ผ่านจุด โดยเส้นทางที่พื้นผิวตัดกับระนาบทั้งสอง แสดงให้เห็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์ในระนาบหนึ่ง แต่ แสดงให้เห็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ในอีกระนาบหนึ่ง

บทนิยาม ให้ นิยามบนบริเวณ โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน ถ้า และ หรือ หาอนุพันธ์ของ f ที่จุด (a,b) ไม่ได้ เราเรียกจุด (a,b) นั้นว่า จุดวิกฤต (critical point)

จุดวิกฤต จุดสูงสุดสัมพัทธ์ ???????????? จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ จุดอานม้า

จงหาจุดวิกฤตของฟังก์ชัน

อนุพันธ์ย่อยอันดับที่สอง ทฤษฎีบทการหาจุดสูงสุด-ต่ำสุดโดยใช้ อนุพันธ์ย่อยอันดับที่สอง ถ้า มีอนุพันธ์ย่อยอันดับที่สองซึ่งต่อเนื่อง ในบริเวณที่พิจารณา รอบจุด (a,b) โดยที่จุด (a,b) เป็นจุดวิกฤตของฟังก์ชัน ให้

ให้ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด และ ถ้า (หรือ ให้ค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด

ให้ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด และ ถ้า (หรือ ให้ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด

ถ้า จุด เป็นจุดอานม้า

ถ้า สรุปอะไรไม่ได้ !!!!

????????????

อนุพันธ์ ความชัน การเปลี่ยนแปลง ความชัน

จงหาจุดสุดขีดเฉพาะที่ และ ค่าสุดขีดเฉพาะที่ของฟังก์ชัน และระบุว่าจุดสุดขีดนั้นเป็นจุดสุดขีดชนิดใด

จงหาจุดสุดขีด เฉพาะที่ และ ค่าสุดขีดเฉพาะที่ของฟังก์ชัน และระบุว่าจุดสุดขีดนั้นเป็นจุดสุดขีดชนิดใด

จงหาจุดสุดขีดเฉพาะที่ และ ค่าสุดขีดเฉพาะที่ของฟังก์ชัน และระบุว่าจุดสุดขีดนั้นเป็นจุดสุดขีดชนิดใด

ข้อใดเป็นจุดวิกฤตของฟังก์ชัน 1.) และ และ 2.) และ และ 4.) 3.) 5.) และ

จงหาจุดวิกฤต, จุดสุดขีดเฉพาะที่ และ ค่าสุดขีดเฉพาะที่ของฟังก์ชัน และระบุว่าจุดสุดขีดนั้นเป็นจุดสุดขีดชนิดใด

จงหาจุดวิกฤตของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมทั้งจำแนกจุดวิกฤต

จงหาจุดวิกฤตของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมทั้งจำแนกจุดวิกฤต

จงหาความกว้าง ความยาว และความสูงของกล่อง ซึ่งไม่ มีฝา (ดังรูป) โดยกล่องดังกล่าวมีปริมาตร 32 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด

จงหาจุดสุดขีดเฉพาะที่ และ ค่าสุดขีดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน และระบุว่าจุดสุดขีดนั้นเป็นจุดสุดขีดชนิดใด

บทนิยาม ให้ นิยามบนบริเวณปิด โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน เป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum) ของ ถ้าจุด อยู่ในบริเวณ และ สำหรับจุด ทุกๆ จุดที่อยู่ใน

บทนิยาม ให้ นิยามบนบริเวณปิด โดยที่ เป็นสมาชิกใดๆ ใน เป็นค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ (absolute minimum) ของ ถ้าจุด อยู่ในบริเวณ และ สำหรับจุด ทุกๆ จุดที่อยู่ใน

เพื่อความสะดวกเราเรียก ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ และ ค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ รวมกันเป็น ค่าสุดขีด สัมบูรณ์ (absolute extremum)

ขั้นตอนการหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ 1. พิจารณาค่าสุดขีดสัมพัทธ์ในบริเวณ R 2. พิจารณาค่าสุดขีดที่ขอบของ R 3. เปรียบเทียบค่าสุดขีดที่ได้จากข้อ 1 และข้อ 2 เพื่อหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์

จงหาค่าสูงสุดและต่ำสุดสัมบูรณ์ของ เมื่อพิจารณาฟังก์ชันบนพื้นที่สามเหลี่ยมซึ่งถูก ล้อมรอบด้วยเส้นตรง