บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
8. ไฟฟ้า.
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ความเท่ากันทุกประการ
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Electric force and Electric field
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
Structural Analysis (2)
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
พลังงานภายในระบบ.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
Systems of Forces and Moments
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
วงรี ( Ellipse).
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์ และความจุไฟฟ้า ความต่างศักย์ เราคุ้นเคยกับพลังงานศักย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง

F = mg q F = qE d m E h g พลังงานศักย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง Ep = mgh E F = mg q F = qE h g Ep = 0 Ep = 0 Ep = W = Fd =(qE)d พลังงานศักย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง พลังงานศักย์เนื่องจากสนามไฟฟ้า

q F = qE d ความต่างศักย์ (V) คือ งานต่อหน่วยประจุ [J/C] หรือ [Volt] E จากกรณีตัวอย่างนี้ V = W/q = Ed [Volt] q F = qE Ep = 0 Ep = W = Fd =(qE)d พลังงานศักย์เนื่องจากสนามไฟฟ้า

ความต่างศักย์ระหว่าง A กับ B, VAB คือ งานในการเลื่อนประจุหน่วย d B + - A B A E สนามไม่คงที่ B VAB = - E . dl สนามคงที่ VAB = Ed A ความต่างศักย์เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่างจุดสองจุด อาจใช้จุดหนึ่งเป็นจุดอ้างอิงแล้วเทียบอีกจุดหนึ่งกับจุดนั้น

VAB ไม่ขึ้นกับเส้นทางเดิน ขึ้นอยู่กับตำแหน่งตั้งต้นและ dV = -E . dl = Edl cosq A B A B VAB = dV = - E . dl VB B + VAB ไม่ขึ้นกับเส้นทางเดิน ขึ้นอยู่กับตำแหน่งตั้งต้นและ ตำแหน่งสุดท้ายเท่านั้น dl E q VAB = - VBA - A VA งานเนื่องจากสนามไฟฟ้าสถิตตลอดวงปิดมีค่าเป็น 0 หรือ สนามนี้เป็นสนามอนุรักษ์

ความสัมพันธ์ของสนามไฟฟ้าและเกรเดียนต์ของศักย์ จาก dV = -E . dl = -Exdx - Eydy - Ezdz … (1) เนื่องจากศักย์ไฟฟ้าเป็นฟังก์ชันของตำแหน่ง V = V(x,y,z) ดังนั้น … (2) เทียบ (1) กับ (2) เราจะได้ สนามไฟฟ้ามีอีกหน่วยคือ [Volt/m] สนามไฟฟ้ามีค่าเท่ากับเกรเดียนต์ของศักย์ เครื่องหมายลบ บอกทิศของ สนามว่าชี้จากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ

เส้นสมศักย์ และ ผิวสมศักย์ (equipotential line & surface) เส้นสมศักย์ คือ เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีศักย์เท่ากัน ผิวสมศักย์ คือ ผิวที่ผ่านตำแหน่งที่มีศักย์เท่ากัน บอกว่า ทิศของสนามไฟฟ้าตั้งฉากกับผิวสมศักย์และ ชี้จากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ E V1 V2 V3 V1 V2 V3 E

ความสัมพันธ์ของสนามไฟฟ้าและเกรเดียนต์ของศักย์ (ต่อ) บอกว่า ทิศของสนามไฟฟ้าตั้งฉากกับผิวสมศักย์และ ชี้จากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ 5 Volt d = 0.1 m 1V 2V 3V 4V E Ex = |E| Ey = 0 Ez = 0 Ex= -dV/dx = 5 /0.1 [V/m] 5V 0V

ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ E VB-VA A +Q B ที่จุดอ้างอิงไกล (rA = inf.), VA=0 V(r)= kQ/r ปริมาณสเกลาร์

V E 1/r 1/r2 r r สำหรับประจุจุด V(r)= kQ/r สำหรับประจุจุด n ตัว,

ตัวอย่าง จงหา V ที่จุดกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีประจุ -Q วางอยู่ที่มุมหนึ่งและ +Q วางอยู่ที่ อีก 3 มุม +Q +Q a P a +Q -Q

ศักย์ขั้วคู่ไฟฟ้า (Potential from Electric dipole) + - P r+ +q r 2acosq q 2a r- ~q -q ให้นิยาม p = 2aq = electric dipole moment โมเมนต์คู่ไฟฟ้า

ศักย์ขั้วคู่ไฟฟ้า (Potential from Electric dipole)

ทอร์กที่ สนามไฟฟ้ากระทำกับขั้วคู่ไฟฟ้า t = 2qEasinq = pEsinq F=qE E +Q q 2a t = p x E -Q

การหาสนามไฟฟ้าจากศักย์ไฟฟ้า Cartesian coordinates ใช้ความสัมพันธ์ Spherical coordinates

ตัวอย่าง สนามไฟฟ้าจากขั้วคู่ไฟฟ้า + -

ตัวอย่าง แท่งประจุ ยาว L มีประจุกระจายสม่ำเสมอด้วยความหนาแน่น ประจุ l [C/m] จงหาค่าศักย์ไฟฟ้าที่จุด P ซึ่งเป็นจุดบนแกนเดียวกันกับ แท่งประจุและห่างจากประจุ d [m] x dx dq = ldx l P d L

ตัวอย่าง ประจุ Q กระจายอย่างสม่ำเสมอบนวงแหวนรัศมี R จงหาศักย์ V ณ จุด P บนแกนวงแหวนห่างจากจุดศูนย์กลาง h [m] y dq = ldl R P z h x

ตัวอย่าง ประจุกระจายอย่างสม่ำเสมอบนจานแบนรัศมี a ด้วยความ หนาแน่นประจุ(ต่อหน่วย พ.ท.) s จงหาศักย์ V ณ จุด P ห่างจากจาน บนแนวแกนเป็นระยะทาง h [m] a P z h

y dq = 2prsdr r h z P a x