ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน ผศ.อังธิดา ลิมป์ปัทมปาณี อาจารย์สุระชัย ชูผกา ภาควิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผลวิจัยพบว่า วิทยุชุมชนไทย ฝันไว้ไกล ไปไม่ถึง? บทเรียน 8 ปีแห่งการต่อสู้ บทเรียนทางการเมือง; เถื่อน บทเรียนทางเศรษฐกิจ; SMEs บทเรียนทางสังคม; เห่อ&หาย
คนฟังวิทยุชุมชนเพราะ ญาติจัด ติดดีเจ ใช้ภาษาถิ่น ไม่มีโฆษณา มีข่าวคนในชุมชน อยู่ใกล้กันเป็นของชุมชน
คนไม่ฟังวิทยุชุมชนเพราะ คนจัดพูดมาก คนจัดติดๆ ขัดๆ ไม่มีข่าวสารชุมชน จัดไม่สม่ำเสมอ เนื้อหาไม่หลากหลาย สัญญาณไม่ชัด
องค์ประกอบวิทยุชุมชนที่แท้จริง 1. ความเป็นสื่อชุมชน เป็นผู้ให้สาระและบันเทิงชุมชน เป็นคู่มือและผู้เฝ้าระวังให้ชุมชน เป็นผู้กำหนดวาระข่าวสารชุมชน เป็นสื่อกลางเชื่อมโยงฝ่ายต่างๆใน ชุมชน
2.ความเป็นชุมชน มีขอบเขตอาณาบริเวณชัด มีผู้มามีปฏิสัมพันธ์กัน มีแบบแผนวิถีชีวิต “ชีวิตและลมหายใจของชุมชน”
3.ความเป็นพื้นที่สาธารณะ เป็นพื้นที่เปิดกว้างของทุกฝ่าย เป็นที่ที่อิสระ ไม่พึ่งพิง เป็นที่สำหรับผู้แสวงหาสิ่งดีงาม
สรุปองค์ประกอบวิทยุชุมชน ความเป็นสื่อชุมชน ความเป็นชุมชนเพื่อชุมชน ความเป็นพื้นที่สาธารณะแท้
พันธกิจวิทยุชุมชน (Participation) พัฒนาหน้าที่ของสื่อชุมชน (Function) ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) พัฒนาหน้าที่ของสื่อชุมชน (Function) สร้างสมรรถนะการแพร่กระจายเสียง (Diffusion)
ดัชนีชี้วัดความเข้มแข็งวิทยุชุมชน องค์ ประ กอบ พันธกิจ ดัชนีชี้วัดความเข้มแข็งวิทยุชุมชน “เป็นสื่อกลางที่เปิดกว้างให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมอย่างหลากหลาย ด้วยการสื่อเข้าข้างใน ไปไกลถึงข้างนอก อย่างอิสระเสรี เพื่อความเข้มแข็งของชุมชน”
ตาราง Matrix องค์ประกอบและพันธกิจของวิทยุชุมชนไทย ความเป็นสื่อชุมชน ความเป็นพื้นที่สาธารณะ (Public sphere) ความเป็นชุมชน (Community Identification) ตัวชี้วัด ระดับการมี ส่วนร่วม (Participation) คนในชุมชนเข้าร่วมในการผลิตสื่อในขั้นตอนต่างๆ คนในและนอกชุมชนเข้าร่วมได้ในฐานะพลเมืองโดยอิสระปราศจากการครอบงำ คนในชุมชนกลุ่มต่างๆ เข้าร่วมในฐานะเจ้าของและผู้กำหนดนโยบาย 1.ปริมาณและความต่อเนื่องของคนในชุมชนที่มีส่วนร่วมผลิต 2. ไม่มีโฆษณา และไม่มีผู้ครอบงำรายหนึ่งรายใดภายใต้การทำงานของระบบอาสา สมัคร 3. สัดส่วนที่เหมาะสมของตัวแทนทุกกลุ่มคนในชุมชน ประสิทธิภาพการทำหน้าที่ (Function) การทำตามบทบาทหน้าที่และการจัดองค์กรในความเป็นสื่อชุมชน การเป็นสื่อกลาง และเวทีในการเปิดประเด็นสาธารณะสำหรับทุกฝ่าย การสื่อสารเพื่อการแสดงออกซึ่ง อัตตลักษณ์และความภาคภูมิใจของคนในชุมชนท้องถิ่นตน 1. สัดส่วน ของเนื้อหารายการที่หลากหลายทั้งด้านการให้ความรู้ อธิบายความ การเฝ้าระวัง การเชื่อมโยง ถ่ายทอดค่านิยม และด้านความบันเทิง 2. ปริมาณและความต่อเนื่องในการเปิดเวที และเปิดประเด็นสาธารณะโดยมีฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมครบถ้วน 3. สัดส่วนเนื้อหารายการที่มาจากภายในท้องถิ่นและลีลาการนำเสนอรายการที่แสดง ออกซึ่งอัตตลักษณ์ของชุมชน สมรรถนะการแพร่กระจาย (Diffusion) การแพร่ กระจายข้อมูลข่าวสารตามความต้องการของผู้ฟังที่มีอยู่จำนวนมาก กระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ฟังผ่านกิจกรรมต่างๆ หลากหลาย รัศมีการกระจายเสียงครอบคลุมเขตชุมชนชัดเจน โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นด้วยเทคโนโลยีที่ชุมชนเข้าถึงได้ง่าย 1. ปริมาณการเปิดรับฟังและเสียงสะท้อนกลับของผู้ฟังในรัศมีครอบคลุมและความต่อเนื่องของการแพร่กระขายข่าวสาร 2. จำนวนกิจกรรมและช่องทางการสื่อสารเพื่อการแพร่กระจายข่าวสารระหว่างวิทยุชุมชนกับผู้ฟังกลุ่มต่างๆ 3.วัดจากคุณสมบัติทางเทคนิคในด้านกำลังส่งคลื่นความถี่ตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง1 ระดับการมีส่วนร่วม + ความเป็นสื่อชุมชน ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี ปริมาณของคนในชุมชนที่เข้าร่วมผลิต ความต่อเนื่องของคนในชุมชนที่ร่วมผลิต
ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง2 ระดับการมีส่วนร่วม + ความเป็นชุมชน ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี สัดส่วนที่เหมาะสมของตัวแทนทุกกลุ่มใน ชุมชน ในฐานะเจ้าของและผู้กำหนด นโยบาย
ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง3 ระดับการมีส่วนร่วม + พื้นที่สาธารณะ ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี ไม่มีผู้ครอบงำจากการเมือง ธุรกิจ ราย หนึ่งรายใด มีอาสาสมัครเข้าร่วมดำเนินการ กว้างขวาง
4.การทำหน้าที่ + ความเป็นสื่อชุมชน ตัวชี้วัด สัดส่วนของเนื้อหารายการหลากหลาย ทั้ง ความรู้ การอธิบายความ การเฝ้าระวัง การ เชื่อมโยง การถ่ายทอดค่านิยม และความ บันเทิง ในชุมชน
การทำหน้าที่ + ความเป็นพื้นที่สาธารณะ ตัวชี้วัด ปริมาณการจัดเวทีสาธารณะผ่านคลื่น ผ่านสถานี ความต่อเนื่องของการเปิดเวทีหรือ ประเด็นสาธารณะ โดยทุกฝ่ายเข้าร่วม
6.การทำหน้าที่ + ความเป็นชุมชน ตัวชี้วัด สัดส่วนเนื้อหารายการหลากหลายจาก คนท้องถิ่นในชุมชน การมีลีลาการนำเสนอที่เป็น เอกลักษณ์ท้องถิ่น (ทั้งการจัดรายการ, เพลงประกอบ, อื่นๆ)
7.การแพร่กระจาย + ความเป็นสื่อชุมชน ตัวชี้วัด ปริมาณการเปิดรับฟังและเสียง สะท้อนกลับจากผู้ฟังในรัศมี ครอบคลุม ความต่อเนื่องของการออกอากาศ
8.การแพร่กระจาย + พื้นที่สาธารณะ ตัวชี้วัด ปริมาณกิจกรรมต่างๆ ดึงให้คนใน ชุมชนเข้าร่วม ช่องทางการสื่อสารอื่นๆ ที่มีกับผู้ฟัง และคนในชุมชน
9.การแพร่กระจาย + ความเป็นชุมชน ตัวชี้วัด กระจายเสียงได้ครอบคลุมฐาน สมาชิกได้อย่างทั่วถึงตามวิถีชุมชน ส่งกระจายเสียงได้สอดคล้องกับ ข้อกำหนดตามกฎหมายและไม่ รบกวนชุมชนอื่น
พันธกิจท้าทายและก้าวต่อไปวิทยุชุมชนไทย หยั่งรากให้ถึงชุมชน พัฒนากิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วม แสวงหาจุดยืนที่ชัดเจนของตน สถานีเฉพาะด้าน, สถานีที่ครบถ้วน สานสร้างเครือข่ายพันธมิตรด้วยระบบที่ชัดเจน ส่งผ่านการกระจายเสียงต่อกัน ความท้าทายของการไม่มีหน้าปัทม์ และหลอมรวมสื่อ