วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ภาษา SQL (Structured Query Language)
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Object-Oriented Analysis and Design
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
หลักการแก้ปัญหา.
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
โครงสร้าง ภาษาซี.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา 204203 การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 4 การเขียนผังงาน วิชา 204203 การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์

การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart) DSD (Design Structure Diagram) Pseudocodes และ PDL (Program Design Language)

ความหมายผังงาน ผังงาน คือ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลำดับ หรือขั้นตอนในโปรแกรม รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่จะใช้เป็นเอกลักษณ์ และแทนความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง

ประเภทผังงาน ผังงานระบบ (System Flowchart) แสดงถึงขั้นตอนการทำงานภายในระบบงานหนึ่ง ๆ แต่ละจุดประกอบด้วย Input-Process-Output ไม่สามารถเขียนโปรแกรมจากผังงานระบบได้ ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) แสดงถึงขั้นตอนของคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม อาจสร้างมาจากผังงานระบบ นำไปเขียนโปรแกรมคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่อไป

ประโยชน์ของผังงาน รู้และเข้าใจได้ง่าย ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน ตรวจสอบความถูกต้องของลำดับขั้นตอนได้ง่าย การเขียนโปรแกรมทำได้รวดเร็วและง่ายขึ้น บำรุงรักษาหรือเปลี่ยนแปลงได้ง่ายขึ้น

ข้อจำกัดของผังงาน ใช้สื่อความหมายระหว่างบุคคลมากกว่าที่จะสื่อกับเครื่อง ไม่ทราบความสำคัญของแต่ละขั้นตอน สิ้นเปลือง เพราะใช้กระดาษและอุปกรณ์มาก ผังงานขนาดใหญ่ ปรับเปลี่ยนแก้ไขทำได้ยาก ในผังงานจะบอกเพียงลำดับอย่างไร และปฏิบัติงานอะไร ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคำสั่งในภาษาได้ชัดเจนตรงไปตรงมา

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน หน่วยงานที่รวบรวมและกำหนดมาตรฐาน American national Standard Institute (ANSI) International Standard Organization (ISO)

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การกำหนดค่าเริ่มแรก การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงค่าของข้อมูล การทดสอบ

การจัดภาพและทิศทางของผังงาน จากบนมาล่าง จากซ้ายไปขวา และควรเขียนลูกศรกำกับทิศทาง สัญลักษณ์มีขนาดต่างกันได้ แต่ต้องมีรูปตามมาตรฐานที่กำหนด หลีกเลี่ยงการโยงไปมาในทิศทางตัดกัน คำอธิบายในภาพเขียนเพียงสั้น ๆ และเข้าใจง่าย ควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาด และควรมีชื่อของผังงาน ผู้เขียน วันที่ที่เขียน และเลขหน้าลำดับ

แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง (DSD) การเรียงลำดับ การทดสอบเงื่อนไข IF-THEN-ELSE และ IF-THEN การทดสอบหลายเงื่อนไข DO CASE - END CASE การซ้ำ FOR-NEXT

การซ้ำ (ต่อ) REPEAT UNTIL และ WHILE การตรวจสอบต้นเงื่อนไข การตรวจสอบปลายรอบ การตรวจสอบกลางรอบ คำสั่งเรียกโปรแกรมย่อย และการอธิบายเพิ่ม

ซูโดโค้ด และ PDL การเรียงลำดับ การตัดสินใจแบบทดสอบทางเลือก คำสั่งทำซ้ำ ๆ FOR และ END FOR REPEAT-UNTIL WHILE - END WHILE โปรแกรมย่อยหรือโมดูล