บทที่ 6 การออกแบบส่วนนำเข้าและส่วนแสดงผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การเขียนผังงาน.
บทที่ 1 : The interaction การโต้ตอบ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การพัฒนาเว็บ.
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Seminar in computer Science
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Surachai Wachirahatthapong
SCC : Suthida Chaichomchuen
ส่วนที่ 4 System Design การออกแบบระบบ.
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
เนื้อหาที่มีประโยชน์ Useful Content
องค์ประกอบ ของการออกแบบเว็บไซท์ อย่างมีประสิทธิภาพ
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
เราเป็นผู้นำ.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
By Nuttawut Suksangjan July 8, 2014 Training POWERPOINT.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
DMC 2/2014. ข้อมูลที่โรงเรียนต้องดำเนินการปรับปรุง ในภาคเรียนที่ 2/ ข้อมูลพื้นฐาน ( กรณีโรงเรียนเปลี่ยน ผู้บริหาร / แก้ไขข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ) 2.
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
Output คือ การแสดงผลลัพท์ หรือ สารสนเทศ ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล แบ่งเป็น –Soft Copy ผลลัพท์ชั่วคราว –Hard Copy ผลลัพท์ถาวร Screen Output, Printed Output,
School of Information & Communication Technology
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การออกแบบส่วนนำเข้าและส่วนแสดงผล โดย ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

การออกแบบส่วนนำเข้าและส่วนแสดงผล ขยะเข้ามาก็ได้ขยะออกไป “Garbage in garbage out : GIGO) คุณลักษณะสำคัญของการนำเข้า ความพร้อมของข้อมูล (availability) ความถูกต้องและความสมบูรณ์ (integrity) ความเชื่อถือได้ (authenticity) คุณลักษณะสำคัญของสิ่งที่แสดงผลออกมา ความเที่ยงตรง (relevance) ความคงที่ (consistency) ผลประโยชน์ (benefit)

การออกแบบส่วนแสดงผล สื่อที่ใช้ เครื่องพิมพ์ หน้าจอ Plotter Computer Output Microfilm (COM) เสียง Device

ส่วนแสดงผลที่เป็นรายงาน Hard copy เป็นการแสดงผลออกมาเป็นรายงาน Soft copy เป็นการแสดงผลทางหน้าจอ เป็นการแสดงผลแบบชั่วคราว CRT (cathode ray tube) VDT (Video display terminal)

การออกแบบการพิมพ์รายงาน รายงานตามความต้องการ รายงานที่มีรายละเอียดครบ (Detail reports) รายงานแบบมีเงื่อนไข (Exception reports) รายงานสรุป (Summary reports) รายงานตามการแจกจ่ายให้แก่ผู้ใช้ รายงานภายในองค์กร (Internal reports) รายงานภายนอน (External reports)

การออกแบบหน้าจอส่วนแสดงผล การออกแบบทางหน้าจอ การออกแบบตัวอักษร การออกแบบรูปกราฟส่วนแสดงผล การออกแบบเอฟเฟกซ์พิเศษในการแสดงหน้าจอ

การออกแบบส่วนนำเข้า วิธีการในการนำเข้า แบบช่วงเวลา (Batch) แบบตลอดเวลา (Online)

อุปกรณ์ในการนำเข้าข้อมูล Keyboard Mouse Touch screen Touch-tone telephone เครื่องมือนำเข้าข้อมูลแบบกราฟฟิก (Graphic input device) เครื่องมือเสียง

หน้าจอแสดงส่วนการนำเข้าข้อมูล

หน้าจอควบคุมการปฏิบัติงาน การใช้เมนู การใช้หน้าจอพร็อมท์ การรวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกัน (Combination screen)

หน้าจอการควบคุมการประมวลผลแบบเมนู

GUI : Graphic User Interfaces Window Menu bar Pull-down menu Pop-up menu Icons

รูปแบบของ GUI Text box Toggle button List box Drop-down list box Option buttons Check box Command buttons Spin bar

หลักทั่วไปในการจัดการส่วนนำเข้าและส่วนแสดงผล Gebhardt & Stellmacher (1978) เสนอเกณฑ์ใน 8 ประเด็นหลัก ความเรียบง่าย (Simplicity) มีคำสั่งไม่มากนัก ใช้ส่วนนำเข้าที่เรียบง่าย ใช้คำสั่งที่สั้น ใช้คำสั่งที่สื่อความหมาย

ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness) ความชัดเจน (Clarity) มีโครงสร้างแบบลำดับชั้น มีหน้าที่เฉพาะกิจกรรม มีความสม่ำเสมอ แก้ไขปัญหาตรงจุด ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness) มีเป้าหมายชัดเจน มีขอบเขตที่กำหนดแน่นอน

ภาษาที่ใช้ได้สะดวก (Comfortable language) เป็นคำสั่งที่มีพลัง มีความยืดหยุ่น ใช้การตอบโต้ที่กระทัดรัด ใช้โครงสร้างข้อมูลที่ง่ายต่อการจดจำ

การอำนวยความสะดวกสบายอื่น ๆ ในการให้คำสั่ง (Other comfort) ความสะดวกในการนำเข้า การสั่งแทรกขณะระบบกำลังดำเนินการ การใช้ภาษาของส่วนแสดงผล ให้ความสะดวกด้านอื่น ๆ

การยืนยันและการนำมาใช้ใหม่ (Evidence & reusability) ให้ความช่วยเหลือ การนำกลับมาใช้ใหม่ มีความมั่นคงในคำสั่ง (Stability) การจัดการแก้ไขข้อผิดพลาด ไม่บีบบังคับผู้ใช้ มีความมั่นคงปลอดภัยในข้อมูล (Data security)

เกณฑ์การจัดการใส่ข้อมูล ความคงที่ของการใส่ข้อมูล วิธีการสั่งดำเนินการใส่ข้อมูล การลดปริมาณสั่งการที่ผู้ใช้ต้องจดจำ ความสมดุลในการใส่ค่าข้อมูลเข้ามากับการนำเสนอผลลัพธ์ ความคล่องตัวของผู้ใช้ในการใส่ค่าข้อมูลเข้ามา

เกณฑ์การจัดจอภาพ ความคงที่ของการนำเสนอ การเสนอข้อมูลที่ผู้ใช้เข้าใจได้ การลดปริมาณสิ่งที่ผู้ใช้ต้องจดจำ ความสมดุลระหว่างการนำเสนอผลลัพธ์และการกำหนดใส่ข้อมูลเข้ามา ความคล่องตัวของผู้ใช้ในการควบคุมการนำเสนอ

การกระตุ้นความสนใจของผู้ใช้ ระดับความลึก (intensity) การเน้นความสำคัญ (marking) ขนาดและรูปแบบ (size & fonts) การสลับสีและการกะพริบ (inverse video & blinking) การใช้สี (color) การใช้เสียง (audio)

ปัญหาของการใช้กราฟฟิก ความเบื่อหน่าย (boredom) ความโกรธหงุดหงิด (panic) ความอึดอัดข้องใจ (frustration) ความสับสน (confusion) ความไม่สะดวกสะบาย (discomfort)

หลักการพื้นฐานของการออกแบบกราฟฟิก นำเสนอส่วนที่เป็นข้อความ และส่วนที่เป็นสัญลักษณ์กราฟฟิกให้ความชัดเจน สื่อความหมายว่าต้องการให้ผู้ใช้ทำอะไร ออกแบบระบบที่เสนอโครงสร้างและขั้นตอนของการดำเนินการอย่างชัดเจน ในกรณีที่ผู้ใช้สั่งดำเนินการไม่ตรงตามขั้นตอนการทำงาน ควรให้มีการเตือน หรือเสนอสัญลักษณ์ที่ผู้ใช้ทราบได้ในทันทีว่าควรจะแก้ไขอย่างไร

หลักการใช้สีบนจอภาพ กระตุ้นความสนใจของสายตา สร้างความน่าสนใจให้กับเนื้อหาและการนำเสนอข้อความที่ซับซ้อนไม่น่าสนใจ แยกแยะความแตกต่างของระบบงานที่ซับซ้อน เน้นการจัดโครงสร้างของระบบงานให้เข้าใจง่ายขึ้น เน้นเตือนผู้ใช้ด้านต่าง ๆ เสริมแรงปฏิกริยาทางอารมณ์ของผู้ใช้

กฎเกณฑ์พื้นฐานในการใช้สี อย่าฟุ่มเฟือยในการใช้สี จำกัดจำนวนสี ใช้เทคนิคการกำหนดความหมายให้กับสีที่ใช้ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ควบคุมการนำเสนอสี ควรออกแบบโดยคำนึงถึงจอภาพแบบสีเดียวเป็นอันดับแรก ใช้สีในการสร้างรูปแบบ เลือกใช้สีที่ตรงกับความคาดหวังของผู้ใช้ เลือกจัดสีที่นำเสนออย่างระมัดระวัง