การอ่านจับใจความเรื่องสั้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การวางแผนและการดำเนินงาน
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
ตัวละคร.
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความหมายของการวิจารณ์
แก่นเรื่อง.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
การเขียน.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
วิธีการคิดวิเคราะห์.
องค์ประกอบของวรรณคดี
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
การพูด.
ทักษะการอ่าน.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนรายงาน.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านจับใจความเรื่องสั้น

เรื่องสั้น (Short story) คืองานเขียนร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี (Fiction) ซึ่งเป็นเรื่องสมมติ และมุ่งให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านเป็นหลัก แม้ว่าผู้แต่งจะมีอิสระ ในการสร้างสรรค์ได้อย่างกว้างขวาง แต่สังเกตลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากงานเขียนบันเทิงคดีแบบอื่นได้ ดังนี้

๑. มีขนาดสั้น และมุ่งเสนอแนวคิดสำคัญเพียงอย่างเดียว ๒ ๑. มีขนาดสั้น และมุ่งเสนอแนวคิดสำคัญเพียงอย่างเดียว ๒. มีโครงเรื่องที่สนุก เร้าใจให้ติดตาม ๓. มีการดำเนินเรื่องในช่วงระยะเวลาอันสั้น ๔. มีตัวละครสำคัญน้อย ๕. มีการสร้างฉาก บรรยากาศ บทสนทนา และองค์ประกอบต่างๆ ด้วยภาษาและกลวิธีการแต่งที่กระชับรัดกุม และทำให้เรื่องสมจริง

กลวิธีการแต่งเรื่องสั้นให้สนุก คือการสร้างโครงเรื่องให้มี “ข้อขัดแย้ง” ที่เร้าใจน่าติดตาม แล้วคลี่คลายข้อขัดแย้งเหล่านั้นอย่างสมจริง และเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งถึง “จุดสุดยอด” (Climax) ของเรื่อง ซึ่งเป็นจุดจบของข้อขัดแย้ง ข้อขัดแย้งที่ใช้กันมากมีดังนี้

๑. ข้อขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ คือความขัดแย้งหรือ การต่อสู้ของตัวละครที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน นับเป็น ข้อขัดแย้งที่นำมาแต่งเรื่องสั้นกันมากที่สุด ๒. ข้อขัดแย้งที่เกิดจากปัจจัยภายนอก เช่น การต่อสู้กับ ภัยธรรมชาติ สัตว์ ความยากจน ศาสนา ๓. ข้อขัดแย้งกับตนเอง เช่น ความปรารถนาที่จะกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดีต่อการกระทำนั้น

แนวทางในการอ่านจับใจความเรื่องสั้นให้ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างรวดเร็ว มีดังนี้ ๑. ชื่อเรื่อง เป็นจุดชี้แนะหัวใจของเรื่องเป็นอันดับแรก เรื่องสั้นบางเรื่องตั้งชื่อให้เห็นแก่นเรื่องหรือใจความสำคัญได้ชัดเจน ๒. แก่นเรื่อง นับเป็นจุดซ่อนเร้นที่ผู้แต่งเรื่องสั้นจะไม่บอกโดยตรง แต่ผู้อ่านสามารถค้นหาด้วยวิธีการ ต่อไปนี้

๒.๑ พิจารณาจากข้อขัดแย้งของเรื่องแล้วติดตามผลของข้อขัดแย้งเหล่านั้นว่า คลี่คลายขยายตัวและสิ้นสุดลงอย่างไร ๒.๒ พิจารณาจากจุดสุดยอดของเรื่อง ซึ่งมักจะอยู่ตอนท้ายๆ ใกล้จบเรื่อง จะมองเห็นแก่นเรื่องทันที ๒.๓ สรุปสาระสำคัญของเรื่องโดยการตอบคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทำไม

๓. ภูมิหลัง การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมและเหตุการณ์ในเรื่อง จะช่วยให้จับใจความได้ง่ายยิ่งขึ้น ๔. น้ำเสียงหรือหางเสียง การจับน้ำเสียงหรือหางเสียงของผู้แต่งจะช่วยให้จับใจความของเรื่องได้. ๕. ไม่ควรอ่านแต่จะจับใจความเพียงอย่างเดียว ควรเก็บใจความประกอบของเรื่องไปพร้อมๆ กันเพื่อจะได้อรรถรส