ชีวิตและวัฒนธรรมไทย 3000-1301.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

การจัดระเบียบสังคม Social Organization
หน้าที่ของผู้บริหาร.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
กิจการนิสิต (Student Affairs)
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
ความหมายของชุมชน (Community)
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
การจัดการศึกษาในชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 2 ความหมายและลักษณะของชุมชน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 16 ครอบครัว.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีวิตและวัฒนธรรมไทย 3000-1301

วิชา ชีวิตและวัฒนธรรมไทย รหัส 3000-1301 อ วิชา ชีวิตและวัฒนธรรมไทย รหัส 3000-1301 อ. ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร 083-989-3239

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อเข้าใจถึงลักษณะของเอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมไทย การพัฒนาและสืบทอดวัฒนธรรมไทย เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการสร้างจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

เกณฑ์การประเมินผลการเรียน ภาคปกติ จิตพิสัย 10 คะแนน ทดสอบย่อย 20 คะแนน รายงาน 10 คะแนน งานส่ง 20 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน สอบปลายภาค 20 คะแนน

ประมวลการสอน ภาคปกติ สัปดาห์ที่ 1 บทที่ 1 มนุษย์กับสังคม สัปดาห์ที่ 2 บทที่ 2 สังคมไทย สัปดาห์ที่ 3-4 บทที่ 3 วัฒนธรรม ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สัปดาห์ที่ 5-6 บทที่ 4 เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย สัปดาห์ที่ 7 รายงานการละเล่นไทย สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาคเรียน

ประมวลการสอน ภาคปกติ สัปดาห์ที่ 10-11 บทที่ 5 ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย สัปดาห์ที่ 12-13 บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย+test สัปดาห์ที่ 14 บทที่ 7 พลเมืองดี สัปดาห์ที่ 15 บทที่ 8 จิตสาธารณะ สัปดาห์ที่ 16 ทบทวนบทเรียน สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาคเรียน

รายงานกลุ่ม 10คะแนน (สัปดาห์ที่ 7) เรื่อง การละเล่นของไทย เช่น งูกินหาง หมากเก็บ มอญซ่อนผ้า รีรีข้าวสาร ไม้โยกเยก ขี่ม้าส่งเมือง ปิดตาตีหม้อ ซ่อนหา โพงพาง เดินกะลา ปริศนาคำทาย สะบ้า เล่นว่าว ชักเย่อ ให้นักศึกษาจับกลุ่มๆละไม่เกิน 5 คน นำเสนอรายงานดังนี้ รายงานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ประโยชน์ที่ได้รับ สาธิตวิธีการเล่น

1 บทที่ มนุษย์กับสังคม

มนุษย์ หมายถึง สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล สัตว์ที่มีจิตใจสูง สังคม หมายถึง กลุ่มคนขนาดใหญ่ที่มีอำนาจเหนือกลุ่มย่อย มีดินแดน สามารถเลี้ยงตนเองได้ และมีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง

มาสโลว์ แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ระดับ คือ มาสโลว์ แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ระดับ คือ ความต้องการทาง สรีรวิทยา ความต้องการความสำเร็จแห่งตน ความต้องการ ของมนุษย์ ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัยของชีวิต ความต้องการที่จะมีชื่อเสียงเกียรติยศ ความต้องการทางสังคม

ลักษณะสำคัญที่ส่งผลดีต่อมนุษย์ มี 2 อย่าง คือ 1. มนุษย์มีความสามารถในการสร้าง และใช้สัญลักษณ์เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร 2. มนุษย์มีวัฒนธรรม

สาเหตุที่มนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นสังคมมนุษย์ เพื่อเป็นที่ยอมรับของสังคม เพื่อสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน สาเหตุมี 3 อย่าง คือ เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม

องค์ประกอบของสังคม มีประชาชนจำนวนหนึ่ง สมาชิกประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในกรอบของสถาบันและ วัฒนธรรมอย่างเดียวกัน มีองค์ประกอบ 5 อย่าง คือ มีความสัมพันธ์ต่อกัน มีดินแดนที่ แน่นอน มีการกระทำต่อกันอย่างต่อเนื่องเป็นกิจวัตรประจำวัน

หน้าที่ของสังคม 1. ผลิตสมาชิกใหม่และรักษาจำนวนสมาชิกให้อยู่ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 2. อบรมสมาชิกใหม่ให้สามารถเรียนรู้และปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม 3. ดำรงรักษากฎระเบียบของสังคมไว้ ปกป้องคุ้มครองคนดี รักษากฎหมาย 4. ผลิต จำหน่าย จ่ายแจกสินค้าและบริการ

การจัดระเบียบทางสังคม กระบวนการจัดระเบียบ มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท

สถาบันทางสังคม ( Institution ) หมายถึง กฎเกณฑ์หรือระเบียบแบบแผนของสังคม ที่ใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติหรือการติดต่อกัน และทำหน้าที่สนองความต้องการและความจำเป็นของสังคม

สถาบันทางสังคมที่สำคัญ สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา มี 7 สถาบัน คือ สถาบันสื่อสารมวลชน สถาบันการเมืองและ การปกครอง สถาบันนันทนาการ

โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข

การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของสังคมไทย 1. ค่านิยมเรื่องวัตถุนิยม 2. โครงสร้างสังคมจะเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทไปเป็นสังคมเมืองมากขึ้น 3. ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป คนในครอบครัวไม่มีเวลาให้กัน 4. สังคมไทยต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีที่ทันสมัย และรับอิทธิพลจากตะวันตกมากขึ้น 5. สังคมเกษตรกรรมจะลดน้อยลง

6. ความไม่เท่าเทียมภายในสังคมมีมากขึ้น 7. คนไทยจะเกิดความตื่นตัวและเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น เนื่องจากอิทธิพลของสื่อ 8. ปัญหาการขยายตัวของเมือง 9. สถาบันการศึกษาจะเป็นในลักษณะผลิตคนเพื่อเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมมากขึ้น 10. ปัญหาทางสังคมจะหลากหลายและรุนแรงขึ้นกับคนทุกเพศทุกวัย อันเป็นผลเนื่องจากความเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม