บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ความหมายของวิทยาศาสตร์
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน

อุปสงค์ ( effective demand) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายอุปสงค์ หนังสือหน้า 13 เลขหน้า 2/2 อุปสงค์ ( effective demand) “ปริมาณความต้องการสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อภายใน ระยะเวลาที่กำหนดให้ ณ ระดับราคาต่าง ๆ กัน ของสินค้าชนิดนั้น โดยมีอำนาจซื้อ (Purchasing Power) สนับสนุน ”

เพิ่มเติม การที่จะเป็น อุปสงค์ (demand)ได้นั้นจำเป็นต้องมี 1. ความต้องการที่จะซื้อ หรือ Willing to buy 2. ความสามารถในการจ่ายเพื่อซื้อ หรือ Ability to pay

อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด (Individual Demand and Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภค แต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้านั้น อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (Market Demand) : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคน ในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ

ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) 20 + 12 = 32 16 + 10 = 26 12 + 8 = 20 10 + 4 = 14 8 + 0 = 8 12 10 8 4 20 16 5 15 25 ปริมาณซื้อรวม ข ก ปริมาณซื้อ (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร)

อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข 5 15 10 20 25 30 P Q Dก Dข DM 16 26 อุปสงค์ตลาด อุปสงค์ส่วนบุคคลของ ก และ ข

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ ปริมาณความต้องการในสินค้าและบริการจะมากหรือ น้อยเพียงใด นอกจากจะขึ้นอยู่กับราคาสินค้าชนิดนั้นแล้ว ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น รายได้ของผู้บริโภค ราคา สินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยมของผู้บริโภค

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/8 ฟังก์ชันอุปสงค์ (demand function) คือ ฟังก์ชั่นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการกับปัจจัยที่กำหนดปริมาณความต้องการซื้อสินค้าหรือบริการของผู้บริโภค

Qx ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการ (อุปสงค์) ปัจจัย Qx ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการ (อุปสงค์) อุปสงค์มาก อุปสงค์น้อย Px ราคาสินค้า I รายได้ของผู้บริโภค สินค้าปกติ สินค้าด้อยคุณภาพ Py ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง สินค้าใช้ประกอบกัน สินค้าทดแทนกัน T รสนิยม

รายได้ของผู้บริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการซื้อสินค้าชนิด หนึ่งกับรายได้ของผู้บริโภค สินค้าปกติ (Normal Goods) สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)

สินค้าปกติ (Normal Goods) อุปสงค์ต่อนม นมเป็นสินค้าปกติ ราคานมคงที่ รายได้ Q นม รายได้ Q นม ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงบวก เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าปกติ

สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) อุปสงค์ต่อการใช้บริการรถเมล์ ราคาค่าบริการรถเมล์คงที่ รายได้ Q รถเมล์ รายได้ Q รถเมล์ ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงลบ เมื่อสินค้านั้นเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods) นมและขนมปังเป็นสินค้าที่ใช้ ประกอบกัน อุปสงค์ต่อนม ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาขนมปังเพิ่มขึ้น Q ขนมปัง Q นม Pขนมปัง เป็นสินค้า ประกอบกัน กฏของอุปสงค์

Pขนมปัง Q ขนมปัง Q นม ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงลบ เมื่อสินค้า 2 ชนิดเป็นสินค้าประกอบกัน

สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Substitution Goods) อุปสงค์ต่อนม นมและน้ำเต้าหู้เป็นสินค้าที่ใช้ ทดแทนกันได้ ถ้าราคานมคงที่ แต่ราคาน้ำเต้าหู้เพิ่มขึ้น Pเต้าหู้ Q เต้าหู้ Q นม เป็นสินค้า ทดแทนกัน กฏของอุปสงค์

ความสัมพันธ์เป็นไปใน เชิงบวก เมื่อสินค้า 2 ชนิดเป็นสินค้าทดแทนกัน Pเต้าหู้ Q นม Q เต้าหู้

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/9 อย่างไรก็ตามในการศึกษาอุปสงค์ จะให้ความสำคัญ เฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนซื้อสินค้าและบริการกับ ราคาเท่านั้น ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ หมายความว่า จำนวนซื้อสินค้าและบริการชนิดใด ชนิดหนึ่ง ขึ้นอยู่กับราคาของสินค้าและบริการชนิด นั้น (Px) โดยที่ปัจจัยอื่น ๆ ถูกกำหนดให้คงที่

กฎของอุปสงค์ (law of demand) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/10 กฎของอุปสงค์ (law of demand) “ ถ้าสิ่งอื่น ๆ อยู่คงที่ จำนวนซื้อสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งย่อมเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ ” คำกล่าวนี้ คือ “ กฎอุปสงค์ ” (low of demand)

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/32 ตารางอุปสงค์ คือ ตารางตัวเลขที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างราคาสินค้ากับปริมาณความ ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการชนิดนั้นๆ

ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 16 เลขหน้า 2/13 ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. ราคา (บาท/เล่ม) จำนวนซื้อสมุดของนาย ก. (เล่ม/เดือน) 3 6 9 15 4 2

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 17 เลขหน้า 2/14 เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล (individual demand curve) ซึ่งเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายไปขวา และ จากบนลงล่าง เส้นอุปสงค์ในการซื้อสมุดของ นาย ก เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล

การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้ายเส้น อุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Qunatity Demand) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้ออันเนื่องมาจาก ปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มี ผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่

การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ เดิม P = 15  Q = 12 B C P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 16 เส้นอุปสงค์ไม่เปลี่ยนแปลง 12 A ใหม่ P = 20  Q = 10 ใหม่ P = 10  Q = 16

การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์หรือการย้าย เส้นอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve) ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์โดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณซื้อ เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่งจะมีผลทำให้เส้นอุปสงค์เดิมเลื่อนไปทั้งเส้น

การย้ายเส้นอุปสงค์ Q P Q อุปสงค์เพิ่ม Q อุปสงค์ลด 5 10 15 20 25 20 16 12 10 8 25 20 18 15 12 15 12 8 5 3

D2 P(บาท/ลิตร) Q 10 5 15 20 25 D1 12 18 อุปสงค์เพิ่ม

P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 D1 D2 อุปสงค์ลด

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/24 เส้นอุปสงค์ D จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น D1 เมื่อ • ต้องการปริมาณซื้อ  • I  • Py  • T  เส้นอุปสงค์ DD จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น D D เมื่อ • I  • P  (P  ) • P  • D ดีขึ้น • T  • S (ในฤดูกาล) 1 1 s z i

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความแตกต่าง หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/26 P เส้นอุปสงค์ D จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น D2 เมื่อ • ต้องการปริมาณซื้อ  • I  • Py  • T  เส้นอุปสงค์ DD จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น D D เมื่อ • I  • P  (P  ) • P  • D เลวลง • T  • S (ในฤดูกาล) 2 2 s c z i

II. เมื่อปัจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ (Change in Demand) D Qx (หน่วย) Px (บาท)          I.   เมื่อราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยสิ่งอื่นๆ คงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเดิม    A B Qx (หน่วย) Px (บาท) D0 II. เมื่อปัจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลง โดยราคาคงที่ เส้นอุปสงค์ shift ออกจากเส้นเดิม D1 P0 Q0 Q1

แบบฝึกหัดบทที่ 2 1. จงตอบว่าข้อต่อไปนี้เป็นอุปสงค์หรือไม่ ก. สมชายส่งเสื้อยืดขายที่ห้างเซ็นทรัล ข. สมศรีซื้อคุกกี้เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่แก่เพื่อน 2. ตามกฎอุปสงค์เมื่อราคาน้ำอัดลมสูงขึ้นจาก 7บาท เป็น 8 บาท จะเกิดอะไรขึ้น ถ้ากล้องถ่ายรูปมีราคาสูงขึ้น อุปสงค์ของฟิล์มถ่ายรูปจะเป็นเช่นไร โดยทั่วไปอุปสงค์สามารถแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง การที่เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทางขวาทั้งเส้นเกิดจากสาเหตุใด จากฟังก์ชันอุปสงค์ หมายถึงอะไร จงยกตัวอย่างสินค้าทีใช้ทดแทนกันได้ 3 ชนิด จงยกตัวอย่างสินค้าทีใช้ประกอบกัน 3 ชนิด ผู้บริโภคมีรายได้มากจะซื้อสินค้าด้อยคุณภาพมากหรือน้อย ถ้ารายได้ของผู้บริโภคลดลง เส้นอุปสงค์จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย