สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น
ลำดับชั้นของความจำเป็น Moral Needs Social Needs Material Needs ลำดับชั้นของความจำเป็น
วิชาเศรษฐศาสตร์พร่ำสอนถึงประสิทธิภาพในการผลิต ครั้นถึงการบริโภค ไม่มีผู้ใดกล่าวถึงประสิทธิภาพของการบริโภคเลย
คุณค่าเทียม การบริโภค คุณค่าแท้
เศรษฐศาสตร์ที่มีจิตวิญญาณของมนุษย์มากขึ้น ประสิทธิภาพในการผลิต ประสิทธิภาพในการบริโภค
ขณะที่ศาสตร์ต่าง ๆ เฟื่องฟู แต่มนุษย์กลับไม่ประสบความสำเร็จในการสร้างระบบการอยู่ร่วมกันด้วยสันติ
ช่องว่างระหว่างคนจนกับคนรวย ความไม่เป็นธรรม ไม่เท่าเทียม จนเพราะขาดอำนาจในการซื้อ
High mass consumption
วิกฤตการณ์ด้านต่าง ๆ
พุทธศาสนาเป็นวิถีชีวิต เน้นการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข (ศีล) และการพัฒนาจิตใจให้สูงยิ่ง ๆ ขึ้น (สมาธิและปัญญา) เพื่อการพ้นทุกข์และการอยู่โดยไม่เบียดเบียน
ยุทธศาสตร์แก้ทุกข์กับยุทธศาสตร์สร้างสุข ยุทธศาสตร์แก้ความยากจน กับ ยุทธศาสตร์สร้างความร่ำรวย ขัดสน ขาดแคลน ขาดที่พึ่ง
ความรวยและความจนก็เหมือนกับความสุขและความทุกข์ ถึงจะเป็นสองด้านของเหรียญเดียวกัน คือ ถ้าสุขมากก็ทุกข์น้อย ถ้าทุกข์มากก็สุขน้อย ก็จริง แต่ยุทธศาสตร์สร้างสุขกับยุทธศาสตร์แก้ทุกข์ มีความหมายต่างกันเยอะ พระพุทธศาสนาเลือกข้างแก้ทุกข์ แต่ฝรั่งเลือกข้างสร้างสุข หรือการพัฒนาแบบสร้างความร่ำรวย ซึ่งนำไปสู่ปัญหาต่าง ๆ มากมาย ยุทธศาสตร์แก้ความยากจน ก็เหมือนมรรควิธีทางพุทธที่เลือกทางแก้ทุกข์ นั้นแล ถ้าทุกข์หมดก็สุข แต่พอสร้างสุข มันเกิดการแย่งชิงกันขนานใหญ่
ปัญญาคือวิถีการผลิตหลักของพุทธ เมื่อสิ่งรอบข้างอนิจจัง
เครื่องมือวิเคราะห์จิตภายใน ยิ่งมนุษย์สามารถพัฒนาจิตของตนเองได้สูงมากขึ้นเท่าไร ความต้องการในการเบียดเบียนผู้อื่น สภาวะแวดล้อมและการเบียดเบียนตนเองก็ลดน้อยลงเท่านั้น มีความสงบร่มเย็นมากขึ้นเท่านั้น สามารถดำรงตนอย่างมีความสุขในความหมายแบบพุทธ
เศรษฐกิจการค้า เศรษฐกิจพอเพียง (ต้องมีการแลกเปลี่ยน) เศรษฐกิจพอเพียง หลักคิดและหลักปฏิบัติ สร้างสมดุลแห่งชีวิต (วัตถุ-สังคม-สิ่งแวดล้อม-วัฒนธรรม) เศรษฐกิจแบบค้าขาย ภาษาฝรั่งเขาเรียกว่า “Trade Economy” ไม่ใช่ “แบบพอเพียง” ซึ่งฝรั่งเรียก “Self Sufficient Economy” คือเศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง เราก็อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน
เกษตรทฤษฎีใหม่ พึ่งตนเอง ประหยัด มัธยัสถ์ หลักในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง การผลิตแบ่งที่ดินออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 พึ่งตนเอง ประหยัด มัธยัสถ์