ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
1. หน้าที่การทำงานของน้ำยาหล่อเย็น
สมดุลเคมี.
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
รอยต่อ pn.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Introduction to Enzymes
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
พันธะเคมี Chemical bonding.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
การเสื่อมเสียของอาหาร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
โครงงานสุขภาพ เรื่อง การทดลองระหว่างเมนทอสกับน้ำอัดลม
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ENZYME.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
พลังงานภายในระบบ.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กาแล็กซีและเอกภพ.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
Coagulation and Flocculation
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
สังกะสี แคดเมียม.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
ซ่อมเสียง.
การระเบิด Explosions.
การหักเหของแสง (Refraction)
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ความเข้มข้นของสารตั้งต้น อธิบายได้ด้วย ทฤษฎีการชน คือ เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นมีมาก ทำให้จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นมีมากด้วย โอกาสในการชนกันของอนุภาคจึงเพิ่มขึ้น อนุภาคที่มีพลังงานสูงก็เพิ่มขึ้น ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นด้วย

ธรรมชาติของสารตั้งต้นและผลิตผล ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสาร เช่น โดยทั่วไปสารที่ทําปฏิกิริยาเป็นสารไอออนิกทั้งคู่จะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารที่เป็นโควาเลนท์ สารที่ทําปฏิกิริยาเป็นแก๊สทั้งคู่จะทําปฏิกิริยาได้เร็วกว่าปฏิกิริยาที่สารอยู่ ในสถานะต่ างกัน

พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น สารตั้งต้นที่มีพื้นที่ผิวน้อย มักเกิดปฏิกิริยาได้ช้ากว่าสารตั้งต้นที่มีพื้นที่ผิวมาก เช่น สารตั้งต้นที่เป็นผง เกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารตั้งต้นที่เป็นก้อน

อุณหภูมิ โดยทั่วไปปฏิกิริยาเคมีเมื่อเกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูงจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าที่อุณหภูมิต่ำ อธิบายได้ว่าเมื่ออุณหภูมิสูงอนุภาคของสารมีพลังงานสูงจึงเคลื่อนที่ได้เร็ว โอกาสในการชนกันจึงมีมาก เมื่ออนุภาคชนกันมากอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มากขึ้นด้วย

ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยามีผลทำให้อนุภาคชนกันในทิศทางที่ถูกต้องมากขึ้น ทำให้ค่า Ea หรือพลังงานก่อกัมมันต์ลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงเพิ่มขึ้น ในทางตรงข้ามตัวหน่วงปฏิกิริยาจะเพิ่มค่า Ea หรือพลังงานก่อกัมมันต์ ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง

ความดัน ความดันจะมี ผลต่อปฏิกิริยาในกรณีปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับแก๊ส กล่าวคือเมื่อ เพิ่มความดันโมเลกุลของแก๊สจะชนกันมากขึ้นปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

แบบฝึกหัด 1. ในปฏิกิริยา ถ้าเติมผงนิเกิลลงไปเล็กน้อยจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น นักเรียนคิดว่าผงนิเกิลทำหน้าที่อะไร และมีผลต่อการดำเนินไปของปฏิกิริยาอย่างไร  จงอธิบาย

2. เมื่อผสมแก๊สออกซิเจนและไฮโดรเจนที่อุณหภูมิห้อง จะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นแต่ถ้าผสมกันบนผิวของโลหะแพลทินัม  ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันที  เพราะเหตุใด

3. แคลเซียมคาร์บอเนตทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ 3. แคลเซียมคาร์บอเนตทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก  ดังสมการ CaCO 3 (s) + 2HCl(aq) → CaCl 2 aq + H 2 O l + CO 2 (g) เมื่อใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดก้อนและชนิดผงซึ่งมีมวลเท่ากัน  ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก  อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะแตกต่างกันหรือไม่  อย่างไร

4. ปัจจัยใดที่มีผลต่อค่า Ea หรือพลังงานก่อกัมมันต์ของการดำเนินไปของปฏิกิริยาจงอธิบาย