กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
เรื่อง คำสรรพนาม.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
การเพิ่มคำ.
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก
คำกริยา.
คำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม.
คำสรรพนาม.
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
โรงเรียนบ้านแพะยันต์ดอยแช่
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
Parts of Speech ( ชนิดของคำ )
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
การเขียน.
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมานำเสนอ เกมส์บุพบท
การเขียนรายงาน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
แนวคิดหนังสือ สำหรับเด็กวัยแรกเกิด – 3 ปี. Toy Book.
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
เพลงในหมู่ลูกเสือ ในหมู่ลูกเสือ เมื่อเรามาร่วมอยู่
ทักษะการปฏิเสธ หลักการปฏิเสธ  ๑) ควรปฏิเสธด้วยคำพูด น้ำเสียง ท่าทางที่จริงจังแต่มีความสุภาพ เพื่อแสดงความตั้งใจอย่างชัดเจนในการปฏิเสธ 
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
โดย เด็กชาย ธัญญวิชญ์ ผลึกมณฑล ป.5/8 เลขที่16
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
เรื่อง ประโยค.
การเขียนรายงาน.
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
การเขียนโครงการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ผู้สอน คุณครูธันยะวีร์ ค้าขาย

สารบัญการเรียนรู้ พยางค์และคำ ชนิดของคำ แหล่งอ้างอิง

พยางค์และคำ พยางค์ หมายถึง หน่วยเสียงที่ประกอบด้วยสระตัวเดียว (ทั้งลดรูปและคงรูป) จะมีความหมายหรือไม่มีก็ได้ นับหน่วยเสียงเป็นพยางค์หนึ่ง เพราะฉะนั้นคำเดียวอาจจะมีพยางเพียงหรือหลายพยางค์ก็ได้

ชนิดของคำ คำในภาษาไทย แบ่งออกเป็น ๗ ชนิด ๑. คำนาม ๒. คำสรรพนาม ๓. คำกริยา ๔. คำวิเศษณ์ ๕. คำบุพบท ๖. คำสันธาน ๗. คำอุทาน

๑. คำนาม ๑.๑ คำนาม คือ ที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ และกริยาอาการต่าง ๆ มีชื่อว่า สามานยนาม เช่น เด็กมาโรงเรียน , พี่ไปรับน้อง , ผัดกระเพราอร่อยมาก ๑.๒ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะ ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ มีชื่อว่า วิสามานยนาม เช่น สมศักดิ์เรียนหนังสือเก่ง , พระอภัยมณี เป็นหนังสือวรรณคดีที่สนุก

๑.๓ ลักษณะนาม เป็นคำนามที่ประกอบนามอื่นเพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาดหรือประมาณของนามนั้นให้ชัดเจน เช่น รถ 1 คัน , เรือ 3 ลำ , แห 1 ปาก , เกวียน 3 เล่ม ๑.๔ สมุหนาม ได้แก่ คำที่แสดงหมวดหมู่ของสามานยนามหรือวิสามานยนาม เช่น ฝูง , โขลง , กอง หรือคำนามที่เป็นชื่อของสถานที่ เช่น ประเทศไทย , กรมพลศึกษา , บริษัท

๑.๖ อาการนาม เป็นคำนามที่เกิดจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ มีคำ การ หรือ ความ นำหน้า เช่น การเดิน ความดี การพูด ความยาว ความสูง เป็นต้น จะสังเกตว่าคำ การ จะนำหน้าคำกริยา คำ ความ จะนำหน้าคำวิเศษณ์

ร้องรำทำเพลง เพลงคำนาม http://www.youtube.com/watch?v=C1IGqdALiCs

๒. คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว หรือที่รู้กันอยู่ก่อนแล้วว่าเป็นใครหรืออะไร เพื่อไม่ต้องกล่าวซ้ำบ่อยๆ แบ่งออกเป็น ๑. บุรุษสรรพนาม บุรุษ หมายถึงคำที่ใช้แทนชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ และชื่อของสิ่งอื่นทั้งสิ้น ได้แก่ ฉัน เธอ ๒. คำนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ นั่น โน่น โน้น

๓. คำนามไม่ชี้เฉพาะ เช่น ใคร อะไร ไหน ๔. สรรพนามที่เป็นคำถาม เช่น ใคร อะไร ไหน ๕. สรรพนามแบ่งแยก เช่น บ้าง ต่าง กัน ๖. สรรพนามทำหน้าที่แทนนามที่อยู่ข้างหน้า เช่น ที่ ซึ่ง อัน ยกตัวอย่าง คน ที่ เดินมาโน่นเรียนเก่ง บ้านซึ่ง อยู่ ในซอยเป็นของใคร ไม้บรรทัด อัน ที่เธอให้หายไปแล้ว

๓. คำกริยา คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการเคลื่อนไหว หรืออาการเป็นไปของนามและสรรพนาม คำกริยาแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ

ชนิดของคำกริยา คำกริยาแบ่งเป็น  ๕  ชนิด ๑.  อกรรมกริยา  คือ  คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้ความสมบูรณ์  เข้าใจได้  เช่น เขายืน, น้องนอน ๒.  สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ  เพราะคำกริยานี้ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง เช่น ฉันกินข้าว, เขาเห็นนก           

๓.  วิกตรรถกริยา  คือ  คำกริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง  ใช้ตามลำพังแล้วไม่ได้ความ ต้องมีคำอื่นมาประกอบจึงจะได้ความ คำกริยาพวกนี้คือ  เป็น  เหมือน  คล้าย   เท่า  คือ  เช่น เขาเป็นนักเรียน, เขาคือครูของฉันเอง ๔.  กริยานุเคราะห์  คือ  คำกริยาที่ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาสำคัญในประโยคให้มีความหมายชัดเจนขึ้น  ได้แก่คำว่า  จง  กำลัง  จะ  ย่อม  คง  ยัง  ถูก  นะ  เถอะ  เทอญ ฯลฯ  เช่น นายดำจะไปโรงเรียน, เขาถูกตี          

 ๕.  กริยาสภาวมาลา  คือ  คำกริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนามจะเป็นประธาน  กรรม  หรือบทขยายของประโยคก็ได้  เช่น              -  "นอน"หลับเป็นการพักผ่อนที่ดี              -  ฉันชอบไป"เที่ยว"กับเธอ 

 ๔. คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ หมายถึง คำที่ใช้ประกอบหรือขยายคำนาม สรรพนาม คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น เช่น

๕. คำบุพบท คำบุพบท  หมายถึง  คำที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำหรือประโยค  เพื่อให้ทราบว่าคำหรือกลุ่มคำที่ตามหลังคำบุพบทนั้นเกี่ยวข้องกับกลุ่มคำข้างหน้าในประโยคในลักษณะใด  เช่น  กับ  แก่  แต่  ต่อ  ด้วย  โดย  ตาม  ข้าง  ถึง  จาก  ใน  บน  ใต้  สิ้น  สำหรับ  นอก  เพื่อ  ของ  เกือบ  ตั้งแต่ แห่ง  ที่  เป็นต้น

๖.คำสันธาน คำสันธาน  หมายถึง  คำที่ใช้เชื่อมประโยค  หรือข้อความกับข้อความ  เพื่อทำให้ประโยคนั้นรัดกุม  กระชับและสละสลวย  เช่นคำว่า  และ   แล้ว  จึง  แต่  หรือ  เพราะ  เหตุเพราะ  เป็นต้น  เช่น

๗. คำอุทาน คำอุทาน  หมายถึง  คำที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่ตกใจ  ดีใจ  เสียใจ  ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคำที่ใช้เสริมคำพูด  เช่นคำว่า  อุ๊ย  เอ๊ะ  ว้าย  โธ่ อนิจจา อ๋อ  เป็นต้น  เช่น       -  เฮ้อ!  ค่อยยังชั่วที่เขาปลอดภัย      -  เมื่อไรเธอจะตัดผมตัดเผ้าเสียทีจะได้ดูเรียบร้อย

แหล่งอ้างอิง เริงชัย ทองหล่อและคณะ. คู่มือเตรียมสอบ O-NET ป.6. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง. 2537

สวัสดี