ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
ทำความรู้จักและใช้งาน
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
Create Table in MS Access
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Microsoft Access.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Microsoft Access.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การใช้งาน Microsoft Excel
SCC : Suthida Chaichomchuen
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การสร้างตาราง (Table)
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การใช้งาน access เบื้องต้น
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
Data Modeling Chapter 6.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟอร์ม (Form)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
E-R to Relational Mapping Algorithm
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
จัดทำโดย นางสาวพรรณทิวา พุทธาเทพ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003 ตาราง และ ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง

ส่วนประกอบของฐานข้อมูล ส่วนประกอบของฐานข้อมูล Access เรียกว่า ชิ้นส่วนหรือวัตถุ (Object)

ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ) ตาราง ( Table ) เป็นส่วนสำคัญที่สุดในโปรแกรม เนื่องจากมีหน้าที่จะต้อง เก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ที่ Table แบบสอบถาม (Query ) ใช้สำหรับสร้างเงื่อนไขเพื่อให้แสดงข้อมูลเฉพาะ ส่วนที่ต้องการ ฟอร์ม (Form) : คือ ฟอร์มในการทำงาน สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสื่อกลาง ระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้งาน (User Interface) จัดการข้อมูลแทนการจัดการ ในตารางได้ เช่น การเพิ่ม การลบ การค้นหา และแก้ไขข้อมูล เพื่อให้ทำงาน สะดวกขึ้นและผู้สร้างสามารถออกแบบให้สวยงาม

ส่วนประกอบของฐานข้อมูล (ต่อ) รายงาน (Report ) เป็นการสร้างเพื่อสรุปข้อมูล นำเสนอข้อมูลในตาราง แล้ว แสดงรายงานออกทางเครื่องพิมพ์ แมโคร (Macro) คือ ชุดคำสั่งของการกระทำต่าง ๆ ที่นำมารวมกลุ่มกัน ตามลำดับขั้นตอนในการทำงานตามที่ผู้ใช้สั่งการ เพื่อให้ทำงานได้อัตโนมัติ ช่วยลดขั้นตอนการทำงานที่ยาวหรือการทำงานที่ซ้ำ ๆ กันให้สั้นลง โมดูล (Module) เป็นการเขียนโปรแกรมย่อยภายในโปรแกรม Access ที่เขียน ขึ้นโดยภาษา VBA (Visual Basic Application) เพื่อให้งานที่สร้างนั้นมี ประสิทธิภาพในการใช้งานมากยิ่งขึ้น

ตาราง คือ ออบเจ็กต์หนึ่งในฐานข้อมูล เป็นส่วนที่ต้องสร้าง ขึ้นเป็นอันดับแรก เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ ในฐานข้อมูล

ส่วนประกอบของตาราง ไอเท็ม (Item) คือ ข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บไว้ในแต่ละเซลล์ของตาราง ฟิลด์ (Field) หรือเขตข้อมูล คือ ข้อมูลในแนวคอลัมน์ เช่น ฟิลด์รหัส ฟิลด์ชื่อ เรคอร์ด (Record) คือ ข้อมูลในแต่ละแถวของตาราง ตาราง (Table) คือ ส่วนของตารางทั้งหมดที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ถ้านำตาราง หลาย ๆ ตารางมารวมกันเรียกว่า ฐานข้อมูล (Database)

ส่วนประกอบของตาราง (ต่อ) ฟิลด์ (Field) รหัส ชื่อ สกุล อายุ 0001 มานพ คนขยัน 18 0002 มานี ใจกว้าง 15 0006 มานะ อดทน 12 เรคอร์ด (Record) ไอเท็ม (Item)

ชนิดข้อมูล ชนิดข้อมูล Data Type ใช้สำหรับ ขนาด ข้อความ Text ข้อความ เครื่องหมาย หรือตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ สูงสุด 255ไบต์ (ตัวอักษร) บันทึก Memo บันทึกข้อความ หรือข้อความที่มีความยาวมากๆ สูงสุด 65,535ไบต์ (ตัวอักษร) ตัวเลข Number ตัวเลขที่ใช้ในการคำนวณ ทั้งตัวเลขที่เป็นจำนวนเต็ม ตัวเลขทศนิยม 1,2,4หรือ8 ไบต์ (ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวเลข)

ชนิดข้อมูล (ต่อ) ชนิดข้อมูล Data Type ใช้สำหรับ ขนาด วันที่/เวลา Date/Time วันเดือนปี และเวลา 8 ไบต์ สกุลเงิน Currency สกุลเงินและตัวเลขจำนวนเงิน หมายเลขอัตโนมัติ AutoNumber เลขลำดับอัตโนมัติ (เพิ่มทีละ1) 4 ไบต์ ใช่/ไม่ใช่ Yes/No ค่าใดค่าหนึ่งของ Yes/No True/Flase หรือ On/Off 1 บิต

ชนิดข้อมูล (ต่อ) ชนิดข้อมูล Data Type ใช้สำหรับ ขนาด วัตถุ OLE OLE Object วัตถุอื่นๆ เช่น แผ่นงานExcel , เอกสาร Word , รูปภาพ ,ไฟล์เสียง และอื่นๆ สูงสุด 1 กิกะไบต์ การเชื่อมโยงหลายมิติ Hyperlink ที่อยู่การเชื่อมโยงหลายมิติ เช่น เว็บเพจ 2048 ตัวอัษร สร้างเขตข้อมูลการค้นหา Lookup Wizard ข้อมูลที่ดึงจากตารางอื่นมาเก็บในตารางที่กำหนด เท่ากับเขตข้อมูลที่เป็นคีย์หลัก

ความสัมพันธ์ (Relationship) เมื่อได้สร้างตารางและกำหนดคีย์หลักเรียบร้อยแล้ว ขั้นต่อไปคือการกำหนด ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เพื่อให้ตารางที่ได้ออกแบบมาสามารถอ้างอิงข้อมูล ถึงกันได้ ชนิดของความสัมพันธ์ระหว่างตาราง มี 3 แบบ ดังนี้ ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง (One –to-one) ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม (One –to-many) ความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม (Many –to-many)

สัญลักษณ์ เรียกว่า เอนทิตี้ เรียกว่า แอตตริบิวต์ เอนทิตี้ (Entities) คือบุคคล วัตถุที่ทำให้เกิดกลุ่มของข้อมูลที่ ต้องการจัดเก็บ แอตตริบิวต์ (Attributes) คือคุณสมบัติของเอ็นติตี้ เรียกว่า เอนทิตี้ เรียกว่า แอตตริบิวต์ เรียกว่า ลักษณะความสัมพันธ์

ตัวอย่าง ชื่อ นามสกุล รหัส นักเรียน เบอร์โทร ที่อยู่

ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง (One –to-one) เป็นความสัมพันธ์ที่มีรายการใดรายการหนึ่งในตารางใดๆ สามารถจับคู่ได้กับ รายการใดรายการหนึ่งเพียงรายการเดียวในอีกตาราง ซึ่งข้อมูลในฟิลด์นั้นจะมี ค่าไม่ซ้ำกัน เช่น นักเรียน ชั้นเรียน ประจำ 1 >>> นักเรียน 1 คน สามารถประจำชั้นเรียนได้ 1 ชั้นเรียนเท่านั้น

ความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม (One –to-many) เป็นความสัมพันธ์ที่มีรายการใดรายการหนึ่งในตารางใดๆ สามารถจับคู่ รายการในอีกตารางได้หลายรายการ เช่น ครู นักเรียน สอน 1 M >>> ครู 1 คน สามารถสอนนักเรียนได้ หลายคน

ความสัมพันธ์แบบกลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม (Many –to-many) เป็นความสัมพันธ์ที่รายการข้อมูลหลายๆ รายการในตารางหนึ่งมี ความสัมพันธ์กับอีกหลายๆ รายการในอีกตารางหนึ่ง เช่น นักเรียน หนังสือ ยืม M >>> นักเรียน 1 คน สามารถยืมหนังสือได้ หลายเล่ม และ หนังสือ 1 เล่ม สามารถถูกยืมโดยนักเรียน หลายคน