โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
เครื่องเคาะสัญญาณ.
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์  ได้แก่ ดอกไม้ไฟ น้ำพุ การเคลื่อนที่ของลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นจากพื้น การเคลื่อนที่ของนักกระโดดไกล   กาลิเลโอ เป็นคนแรกที่อธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้อย่างละเอียด เขาได้อธิบายว่าถ้าจะศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทด์ได้อย่างละเอียดนั้น ต้องแยกศึกษาส่วนประกอบในแนวราบ และ ในแนวดิ่งอย่างอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน

ในสมัยกรีกโบราณเชื่อตามทฤษฎีของอริสโตเติลที่ว่าถ้ายิงวัตถุจากปืนใหญ่ (ดังรูป) วัตถุจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงตามแนวที่ยิง และวัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ให้จนกระทั่งความเร็วนั้นค่อย ๆ ลดลง จนเป็นศูนย์ แล้ววัตถุจะตกลงมาอย่างรวดเร็วที่ตำแหน่งนั้น

ต่อมาจากการสังเกตอย่างละเอียดของ Niccolo Tartaglia พบว่าอันที่จริงแล้วการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น แนวการเคลื่อนที่เป็นรูปโค้ง ในขณะนั้นไม่มีใครสามารถอธิบายได้ว่าเป็นเพราะอะไร ต่อมากาลิเลโอได้อธิบายว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ที่ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ในสองแนวไม่ใช่แนวเดียว โดยในแนวดิ่งจะ

มีแรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกกระทำต่อวัตถุให้เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง มีแรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกกระทำต่อวัตถุให้เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง     และในเวลาเดียวกับที่วัตถุถูกดึงลง โพรเจกไทล์ก้ยังคงเคลื่อนที่ตรงในแนวราบด้วย ( หลักความเฉื่อยของกาลิเลโอ Galilao's pricipal Inertia )เขาแสดงให้เห็นว่า โพรเจกไทล์นั้นได้ จะประกอบด้วยการเคลื่อนที่ 2 แนว พร้อม ๆกัน โดยในแต่ละแนวนั้นจะเคลื่อนที่อย่างอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน    และยังพบว่าเส้นทางการเคลื่อนที่ของโพรเจกไทล์จะเป็นรูปเรขาคณิต ที่เรียกว่า "พาราโบลา"

 พิจารณาในแนวดิ่ง      ในกรณีที่เราไม่คิดแรงต้านทานของอากาศ  วัตถุทุกชนิดที่อยู่บนโลกนี้ถ้าปล่อยจากที่สูงระดับเดียวกัน  วัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาเท่ากัน   โดยไม่ขึ้นอยู่กับขนาด หรือน้ำหนักของวัตถุ (ดังรูป)

พิจารณาในแนวดิ่งและในแนวการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์    พิจารณาวัตถุ 2 ก้อนที่ตกจากที่ระดับเดียวกัน โดยก้อนแรกปล่อยให้เคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งอิสระ ก้อนที่ สอง เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จะเห็นว่าวัตถุทั้งสองจะตกถึงพื้นดินพร้อมกัน (ดังรูป)

พิจารณาการเคลื่อนในแนวดิ่ง แนวราบ และในแนวโพรเจกไทล์     พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ มีการเคลื่อนที่ 3 แนวพร้อมกัน คือ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งอิสระ  การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์  และการเคลื่อนที่ในแนวราบ   จะเห็นว่าวัตถุจะตกถึงพื้นพร้อมกัน  นั่นคือเวลาที่ใช้จะเท่ากันทุกแนว (ดังรูป)

หลักการคำนวณเกี่ยวกับ โพรเจคไทล์ในแนวดิ่ง  อาศัยการแยกความเร็วของวัตถุออกในแนวราบและในแนวดิ่ง แล้วคำนวณหาค่าต่าง ๆ ที่ต้องการทราบโดยไม่คิดเรื่องแรงต้าน หรือแรงลอยตัวของอากาศ แล้วพิจารณาการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแต่ละแกน โดย                                    และ                 การกระจัด ความเร็ว   ขณะเวลาใด ๆ หาได้จากผลบวกของเวคเตอร์ในแนวราบและแนวดิ่งขณะนั้น ๆ และ

ปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวราบ หรือในแนวดิ่ง หาได้จากสมการ การคำนวณหาค่าต่าง ๆ  ใช้สมการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ดังกล่าวข้างต้น แนวการเคลื่อนที่(ดูจากรูป )

พิจารณาแนวดิ่ง; จากสมการ   ก. หาระยะสูงสุดของวัตถุจากจุดเริ่มต้น (H) พิจารณาแนวดิ่ง;  จากสมการ ข. หาเวลา ที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ถึงจุดสูงสุด พิจารณาแนวดิ่ง;  จากสมการ ที่จุดสูงสุด ความเร็วในแนวดิ่ง

เวลาที่วัตถุอยู่ในอากาศทั้งหมด = 2 เวลาที่วัตถุอยู่ในอากาศทั้งหมด  =  2 = ค. หาระยะทางในแนวราบที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ไกลที่สุด พิจารณาในแนวราบ ; จากสมการ

การคำนวณเมื่อเกี่ยวข้องกับมวลและแรง วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของวัตถุมวล ที่ถูกยิงออกไปด้วยความเร็วต้น ทำมุม กับแนวระดับ ที่ระดับความสูง เมื่อไม่คิดแรงพยุง หรือแรงต้านของอากาศ

ดังนั้นวัตถุมีความเร่งคงที่ ก. วัตถุมีความเร็วต้น ในแนวราบ ( ) วัตถุมวล ที่ถูกยิงออกไปด้วยแรง ทิศลงในแนวดิ่ง พิจารณาจากการเคลื่อนที่ในแนวราบ-แนวดิ่ง แนวราบ ดังนั้น วัตถุมีความเร็วในแนวราบคงที่ แนวดิ่ง ดังนั้นวัตถุมีความเร่งคงที่ และมีความเร็วต้นในแนวดิ่ง

วัตถุมีความเร็วในแนวราบ  และความเร็วในแนวดิ่ง พร้อมกันทำให้วัตถุเคลื่อนที่ในแนวโค้ง (แบบโพรเจกไทล์) (ดังรูป)

เวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด หาได้จาก ความเร็ว ของวัตถุขณะเวลาใด ๆ หาได้จาก หรือ การกระจัด จากจุดเริ่มต้น  0 ขณะเวลาใด ๆ หาได้จาก หรือ เวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด หาได้จาก

กรณียิงวัตถุในแนวระดับด้วยความเร็วต้นต่างกัน แนวการเคลื่อนที่จะเป็นดังรูป (ข) แต่ความเร็วในแนวดิ่ง ขณะเวลาใด ๆ เท่ากัน ตกถึงพื้นพร้อมกัน ใช้เวลาเท่ากัน แต่กระทบพื้นตำแหน่งต่างกัน ข. วัตถุมีความเร็วต้น ทำมุมก้มกับแนวระดับ

แตกความเร็ว ออกในแนวราบ และในแนวดิ่ง (ดังรูป ) จะได้ ในแนวราบ ความเร็วในแนวราบคงที่ ในแนวดิ่ง ดังนั้น

แตกความเร็ว ออกในแนวราบ และในแนวดิ่ง (ดังรูป ) จะได้ ความเร็วในแนวดิ่งขณะใด ๆ แตกความเร็ว ออกในแนวราบ และในแนวดิ่ง (ดังรูป ) จะได้ ในแนวราบ ความเร็วในแนวราบคงที่

ขนาดของความเร็ว และการกระจัด ของวัตถุในเวลาใด ๆ หาได้จาก ในแนวดิ่ง ดังนั้น ความเร็วในแนวดิ่งขณะใด ๆ  วัตถุมีความเร็วคงที่ในแนวราบ และมีความเร่งคงที่ในแนวดิ่ง   พร้อมกันในสองแนวแกน แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุจึงเป็นเส้นโค้งแบบโพรเจคไทด์ (ดังรูป) ขนาดของความเร็ว และการกระจัด ของวัตถุในเวลาใด ๆ หาได้จาก

เวลาที่วัตถุกระทบพื้น คิดได้จากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยที่ และ เวลาที่วัตถุกระทบพื้น คิดได้จากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง   ค. วัตถุมีความเร็วต้น ทำมุมเงย

แตกความเร็ว ออกในแนวราบ และในแนวดิ่ง (ดังรูป ) จะได้

ความเร็วในแนวดิ่งขณะใด ๆ ในแนวราบ ความเร็วในแนวราบคงที่ ในแนวดิ่ง ดังนั้น ความเร็วในแนวดิ่งขณะใด ๆ ความเร็ว ณจุดสูงสุด

ทิศทางทำมุม กับแนวระดับ ขนาดของความเร็ว และการกระจัด ของวัตถุในเวลาใด ๆ หาได้จาก โดยที่ และ ทิศทางทำมุมกับแนวระดับ

สมการที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เวลาที่วัตถุกระทบพื้น คิดได้จากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง สมการที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ในแนวราบ เนื่องจากในแนวราบวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสม่ำเสมอ ค่าคงที่ และ a=0   ดังนั้นสมการที่เกี่ยวข้องจึงมีสมการเดียว คือ และ

เนื่องจากในแนวดิ่งวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ (g) และในการหาความเร็วในขณะใด ๆ หาได้จาก การหาการกระจัดในเวลาใด ๆ หาได้จาก

นายนคร จังหวัดกลาง ม.5/2 เลขที่ 5 จัดทำโดย นายนคร จังหวัดกลาง ม.5/2 เลขที่ 5 นายคมสัน พิมพาเรือ ม.5/2 เลขที่7 นายชนัตถ์ เชิดศักดิ์ไชยศรี ม.5/2 เลขที่8 นายทวีศักดิ์ ติดดำ ม.5/2 เลขที่9