การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
โครงการแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการเกี่ยวกับสหภาพยุโรป
สื่อประกอบการเรียนรู้
คลิกที่รูป... สู่ ฮานอย เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจถึงเมื่อปี พ. ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25%
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
ลักษณะภูมิประเทศ.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ การตั้งถิ่นฐานของประชาชน
สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ช.ชณะชล อิ่มเพ็ง กลุ่ม 15 เลขที่ 39.
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
เหตุการณ์สำคัญในภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก การสำรวจทางทะเล แต่เดิมการติดต่อค้าขายของคนในต่างทวีปทำได้ยาก.
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
การแบ่งเขตภูมิภาคของทวีปแอฟริกา
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิภาคทวีปยุโรป
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ปอมเมอเรเนียน จัดทำโดย นางสาวสุวพัชร อินทสุวรรณ์ รหัสนิสิต
นครแห่งศิลปะ และ ดนตรี
เกาะสมุย สวรรค์กลางอ่าวไทย.
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
KOREA.
Next to. HomeNext to ไอร์แลนด์ ( ภาษาไอริช Éire) ชื่ออย่างเป็น ทางการของประเทศนี้คือสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ( อังกฤษ : Republic of Ireland)( ภาษาไอริช โพบลัคท์
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ASEAN ASSOCIATION THAILAND ราชอาณาจักรไทย Kingdom of Thailand ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพรมแดนทางทิศ ตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศ.
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ -71 องศาเหนือ ประกอบด้วยประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 15,027,863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย(ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษและบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)

ยุโรปใต้ ยุโรปใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งในทวียุโรป ซึ่งมีดินแดนติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอยู่ในคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทร คือ คาบสมุทรไอบีเรีย คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน อยู่ในละติจูดที่ 35 องศาเหนือ ถึง 47 องศาเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 1,316,290 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเชื้อสาย เมดิเตอร์เรเนียน ประกอบไปด้วย 15 ประเทศดังนี้ แอลบีเนีย อันดอร์รา โครเอเชีย ยิบรอต้า กรีซ อิตาลี มาซิโดเนีย มอลตา โปรตุเกส ซานมารีโน เซอร์เบีย มอนเตเนโกร บอสเนีย และ เฮอร์เซโกวีนา สเปน สโลวีเนีย

ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาว ไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ36,933,412ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และภาษากรีก ประชกรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก กรีซ ซานมารีโน เดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์ นครรัฐวาติกัน นอร์เวย เบลเยียม โปรตุเกส ฝรั่งเศส ฟินแลนด์ มอลตา โมนาโก เยอรมัน ลักเซมเบิร์ก ลิกเตสไตน์ สเปน สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ สวีเดน สหราชอาณาจักร ออสเตรีย อันดอร์รา อิตาลี ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์

ยุโรปตะวันออก มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์และกลุ่มสลาโวนิก ได้แก่ประเทศ -เบลารุส บัลแกเรีย สาธารณรัฐเช็ก ฮังการี มอลโดวา โปแลนด์ โรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐสโลวัก และ ยูเครน

บรรณานุกรม ออนไลน์เข้าถึงได้จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%81.ค้นคว้าวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓. ออนไลน์เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81ค้นคว้าวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓. ออนไลน์เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B8%ADค้นคว้าวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89ค้นคว้าวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓.

สมาชิกกลุ่ม ๑.เด็กหญิง ซู่เจิน ลี ม.๒/๑ เลขที่ ๙ ๒.เด็กหญิง นรีกานต์ แสงประนันท์ ม.๒/๑ เลขที่ ๑๔ ๓.เด็กหญิง รังสิญาพร แจ่มแจ้ง ม.๒/๑ เลขที่ ๒๑ ๔.เด็กหญิง วิลาสิณี เมืองมูล ม.๒/๑ เลขที่ ๒๗ ๕.เด็กหญิง สุภัสสรา เตสุภา ม.๒/๑ เลขที่ ๓๔