บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม คือ สิ่ง กระบวนการ วิธีการใหม่ๆ ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ หรือการต่อยอดองค์ความรู้เดิม นำมาใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญเพื่อแก้ไขปัญหาในการทำงาน ก่อให้เกิดความแตกต่าง และมีความเป็นเลิศ และทำให้องค์กรมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
นวัตกรรมสมัยใหม่ เคลฟเวอร์ ยานยนต์จิ๋วแห่งอนาคต
หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ตัวจิ๋ว
ไอโบสัตว์เลี้ยงยุคจิติทอล
สิ่งประดิษฐ์ ที่ใกล้เคียงกับ ของวิเศษของโดราเอม่อน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
Grid Computing: เทคโนโลยี IT ของโลกอนาคต
Grid Computing: เทคโนโลยี IT ของโลกอนาคต
m-Commerce
ห้องเรียนในอนาคต
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต m-Learning
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต m-Learning
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต RFID (Radio Frequency Identification)
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต กำแพงความรู้ (Knowledge Wall)
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต นิเวศน์อิเล็กทรอนิกส์ (Digital Ecosystem) การเชื่อมกันเป็นกลุ่ม ทำงานร่วมกัน การเชื่อมระหว่างกลุ่ม กลุ่มแบบ Virture นิเวศน์อิเล็กทรอนิกส์ Ecosystem
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาในอนาคต นิเวศน์อิเล็กทรอนิกส์ (Digital Ecosystem)
อนาคตการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทำได้จากทุกที่ การจัดเก็บและการนำมาใช้ การจัดการและจัดรูปแบบการจัดเก็บข่าวสาร การเชื่อมต่อข่าวสารได้ตลอดเวลา การสร้าง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลข่าวสาร
อนาคตกับการทำงานและการใช้ข้อมูลข่าวสาร การรวมสื่อสารเป็นหนึ่งเดียว บอร์ดแบนด์มีทุกหนทุกแห่ง วัฒนธรรมการดำเนินการเปลี่ยนไป ปฏิรูปการทำงานกับการใช้ข่าวสาร เพิ่มประสิทธิผล การทำงานร่วมกัน เคลื่อนที่ได้ทุกหนแห่ง มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี ใช้ง่าย ชุดซอฟต์แวร์ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต อีเมล์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์สร้างเอกสาร เครื่องพิมพ์เลเซอร์
บทที่ 10 การใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
ความจำเป็นและความสำคัญในการใช้งานระบบเครือข่าย ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) เข้ามามีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันมากขึ้น เช่น ด้านการสื่อสาร
แนวทางในการปฏิบัติสำหรับผู้ใช้งาน (User) ผู้ใช้ทุกคนจะต้องเก็บรักษารหัสผ่านไว้เป็นความลับ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวของผู้ใช้ ควรติดตั้งโปรแกรม Antivirus และอัพเดทอย่างสม่ำเสมอ ควรมีการสแกนไวรัสอย่างสม่ำเสมอทุกครั้งที่ใช้งาน
ไม่ควรเปิดอ่าน e-mail ที่ไม่รู้จัก ใช้ข้อความสุภาพและถูกต้อง ผู้ใช้จะต้องไม่ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การกระทำที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดี - เพื่อแสวงหาผลประโยชน์หรือการพาณิชย์ - เพื่อขัดขวางการทำงานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ผู้ใช้ไม่ควรใช้ระบบเครือข่ายในสิ่งที่ไม่จำเป็น ทุกครั้งที่เลิกใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะต้องออกจากระบบ (log off) ทุกครั้ง
อันตรายที่เกิดขึ้นจากการบุกรุกเครือข่าย (Intrusion) แบ่งเป็น ระดับบุคคล ระดับองค์กร ระดับประเทศ
อันตรายที่เกิดขึ้นจากการบุกรุกเครือข่าย มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ Hacker Virus Computer Phishing
กฎหมาย IT ที่ควรทราบ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Law) มีการตรากฎหมายขึ้นใช้บังคับแล้ว 2 ฉบับ คือ 1.พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 2.พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 6 หมวด หมวด 1 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมวด 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หมวด 3 ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมวด 4 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ หมวด 5 คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมวด 6 บทกำหนดโทษ
ความรับผิดชอบของผู้ใช้ (User) ต่อทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัย ในสถานศึกษาถ้าไม่มีระบบความมั่นคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายที่ดีพอ อาจถูกโจมตีจากแฮกเกอร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์และเมล์ขยะเข้ามาสร้างความเสียหาย กับระบบหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลสารสนเทศในระบบ
หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากร ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง ความรับผิดชอบในการบริหารจัดการ ความรับผิดชอบของผู้ใช้
จริยธรรมในการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีจริยธรรมในการใช้ กฎระเบียบในการใช้งาน
จริยธรรมในการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ความถูกต้อง (Accuracy) สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล (Access Data) ความเป็นเจ้าของ (Property)
นโยบายในการใช้ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ระเบียบว่าด้วยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระเบียบการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) แนวทางในการปฏิบัติสำหรับผู้ใช้งาน