หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
Advertisements

โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
OCCURRENCE REPORT FORM
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
การสอบเทียบเครื่องมือวัด
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.
การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ไข้เลือดออก.
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โรคอุจจาระร่วง.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรงพยาบาลอานันทมหิดล
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
อุบัติเหตุจากการทำงาน
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค ครั้งที่ 7 ณ โรงแรมศาลายาพาวิเลียน วันที่ 28 มีนาคม 2557 งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช

วัตถุประสงค์ การผลิตน้ำดื่ม .. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อน้ำจากภายนอกขนาด 11.2 ลิตร .. เพื่อผลิตน้ำให้ได้เพียงพอต่อการบริโภคภายในคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล .. เพื่อผลิตน้ำให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานน้ำดื่มขององค์การอาหารและยา ของกระทรวงสาธารณสุข

กระบวนการผลิตน้ำดื่ม น้ำดื่มบรรจุถัง ขนาด 11.2 ลิตร ผลิตวันละประมาณ 1,000 ถัง สำหรับเจ้าหน้าที่ และผู้ป่วยภายในคณะ ฯ เครื่องบรรจุน้ำอัตโนมัติ

ความชื่อมั่นคุณภาพน้ำดื่ม โรงพยาบาลศิริราช ความชื่อมั่นคุณภาพน้ำดื่ม โรงพยาบาลศิริราช 1. ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุกครั้งก่อนผลิต 2. ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุก 1 วันๆละ 2 เวลา (ช่วงเช้าและช่วงเย็น) 3. ตรวจสอบคุณภาพน้ำน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุก 6 เดือนต่อครั้ง ทางภาควิชาพิษวิทยา ( ตรวจหาสารพิษ ) 4. ตรวจสอบทุก 1 เดือน (ตรวจหาเชื้อแบคทีเรียทางจุลชีววิทยา) 5. สุ่มตรวจสอบคุณภาพน้ำน้ำประปา/น้ำดื่มโดยบริษัทภายนอกคณะฯ ทุก 1 ปี

สถิติการผลิตน้ำดื่ม11.2 ลิตร และส่งจ่ายน้ำขวด600 ซีซี. เดือน น้ำบรรจุถัง 11.2 ลิตร น้ำขวด 600 ซีซี หมายเหตุ ต.ค.55 - ก.ย.56 266,959 1,104,565 - ม.ค.55 – ธ.ค.55 270,257 952,649

ผลชี้วัดคุณภาพน้ำดื่ม ( KPI ) ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) ค่าคลอรีน ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) กรด/ด่าง ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) ความขุ่น ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) โอโซน ผ่าน 353 ครั้ง ไม่ผ่าน 15 ครั้ง (คิดเป็น 95. 92 % ) รสและกลิ่น ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100% ) การแก้ ไข น้ำดื่ม โอโซน ผ่าน 353 ครั้ง ไม่ผ่าน 15 ครั้ง ( คิดเป็น 95. 92 % ) ได้ทำการแก้ไขปรับแต่งค่าระบบการจ่ายโอโซนโดยช่างประจำหน่วยงาน

หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ครั้งที่ 7 ณ โรงแรมศาลายาพาวิเลียน วันที่ 28 มีนาคม 2557 งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช

ขั้นตอนการล้างทำความสะอาดถังน้ำขนาด 11.2 ลิตร ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต ภาชนะสำหรับล้างถังน้ำขนาด 11.2 ลิตร ด้วยคลอรีนน้ำ 0.2 Mg/l โครงการปรับปรุงห้องจัดเก็บสำรองน้ำ พื้นที่ขนาด 40 ตารางเมตร

ปัญหาและอุปสรรคการผลิตน้ำบริโภค สาเหตุ การแก้ไข 1.อุปกรณ์เครื่องจักรขาดการดูแล บำรุงรักษาตามแผน Procedure 1.จัดทีมงานที่รับผิดชอบตรวจเช็ค 2.หน้าที่ความรับผิดชอบตามแผน 2.ควบคุมกระบวนการผลิตให้ได้ตามมาตรฐานของ อย. 3.กฎระเบียบปฏิบัติต่างๆที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด 3.การมอบหมายดูแลความสะอาดภายในโรงเรือนการผลิตและการแต่งกายของเจ้าหน้าที่ 4.ความรับผิดชอบการดูแลความสะอาด

แนวทางการป้องกันและการแก้ไข ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) แนวทางการป้องกันและการแก้ไข ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) น้ำดื่ม การป้องกัน 1. เฝ้าระวังตรวจเช็คคุณภาพน้ำดื่มตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ทำความสะอาดระบวนการผลิตเป็นประจำ 3. ใช้อุปกรณ์ป้องกันการปนเปื้อน 4. ตรวจเช็คความพร้อมใช้ของกระบวนการผลิตน้ำดื่มอย่าง สม่ำเสมอ 5. การตรวจสอบ ( Q C ) ผลหลังการผลิตและบันทึกผลอย่าง การแก้ไข 1. รายงานหัวหน้าช่าง 2. หยุดผลิตน้ำดื่มและเรียกเก็บน้ำดื่มที่จ่ายไปกลับคืน 3. ตรวจเช็คกระบวนการผลิตเพื่อหาสาเหตุ 4. คัดแยกสิ่งที่ตรวจพบว่าไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และติดตามกลับมาเพื่อแก้ไขติดป้ายบอกสถานะให้ชี้บ่ง ชัดเจนเพื่อป้องกันนำกลับมาใช้

-น้ำอุปโภค ผ่านเกณฑ์ 8 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ครั้ง ( KPI 66.6 % ) ผลตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่มทางแบคทีเรีย โดยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา(ก.ย.55-ต.ค.56) KPI การส่งตรวจวิเคราะห์ จำนวน 12 ครั้ง ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน 100 % -น้ำอุปโภค ผ่านเกณฑ์ 8 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ครั้ง ( KPI 66.6 % ) -น้ำบริโภค ผ่านเกณฑ์ 11 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 1 ครั้ง ( KPI 91.6 % )

รายงานการตรวจวิเคราะห์ น้ำขวดขนาด 600 ซีซี ของ บริษัท โชคเพชรสมุทร 1999 จำกัด ก.ย.55-ต.ค.56 ส่งผลการวิเคราะห์จากกรมวิทยาศาสตร์ ผ่านการตรวจสอบ 11 ครั้ง KPI 100% - Coli form count  2.2 CFU/100 ml - E. Coli count NF

KPI ผลวิเคราะห์ทางพิษวิทยา 2 ครั้ง/ ปี 22 ต.ค. 2555 (ผ่านการตรวจสอบ) 20 พ.ค. 2556 (ผ่านการตรวจสอบ)

หน่วยประปา งานซ่อมบำรุง จบการนำเสนอ