หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค ครั้งที่ 7 ณ โรงแรมศาลายาพาวิเลียน วันที่ 28 มีนาคม 2557 งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
วัตถุประสงค์ การผลิตน้ำดื่ม .. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อน้ำจากภายนอกขนาด 11.2 ลิตร .. เพื่อผลิตน้ำให้ได้เพียงพอต่อการบริโภคภายในคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล .. เพื่อผลิตน้ำให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานน้ำดื่มขององค์การอาหารและยา ของกระทรวงสาธารณสุข
กระบวนการผลิตน้ำดื่ม น้ำดื่มบรรจุถัง ขนาด 11.2 ลิตร ผลิตวันละประมาณ 1,000 ถัง สำหรับเจ้าหน้าที่ และผู้ป่วยภายในคณะ ฯ เครื่องบรรจุน้ำอัตโนมัติ
ความชื่อมั่นคุณภาพน้ำดื่ม โรงพยาบาลศิริราช ความชื่อมั่นคุณภาพน้ำดื่ม โรงพยาบาลศิริราช 1. ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุกครั้งก่อนผลิต 2. ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุก 1 วันๆละ 2 เวลา (ช่วงเช้าและช่วงเย็น) 3. ตรวจสอบคุณภาพน้ำน้ำประปา/น้ำดื่ม ทุก 6 เดือนต่อครั้ง ทางภาควิชาพิษวิทยา ( ตรวจหาสารพิษ ) 4. ตรวจสอบทุก 1 เดือน (ตรวจหาเชื้อแบคทีเรียทางจุลชีววิทยา) 5. สุ่มตรวจสอบคุณภาพน้ำน้ำประปา/น้ำดื่มโดยบริษัทภายนอกคณะฯ ทุก 1 ปี
สถิติการผลิตน้ำดื่ม11.2 ลิตร และส่งจ่ายน้ำขวด600 ซีซี. เดือน น้ำบรรจุถัง 11.2 ลิตร น้ำขวด 600 ซีซี หมายเหตุ ต.ค.55 - ก.ย.56 266,959 1,104,565 - ม.ค.55 – ธ.ค.55 270,257 952,649
ผลชี้วัดคุณภาพน้ำดื่ม ( KPI ) ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) ค่าคลอรีน ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) กรด/ด่าง ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) ความขุ่น ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100 % ) โอโซน ผ่าน 353 ครั้ง ไม่ผ่าน 15 ครั้ง (คิดเป็น 95. 92 % ) รสและกลิ่น ผ่าน 368 ครั้ง ไม่ผ่าน 0 ครั้ง (คิดเป็น 100% ) การแก้ ไข น้ำดื่ม โอโซน ผ่าน 353 ครั้ง ไม่ผ่าน 15 ครั้ง ( คิดเป็น 95. 92 % ) ได้ทำการแก้ไขปรับแต่งค่าระบบการจ่ายโอโซนโดยช่างประจำหน่วยงาน
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ครั้งที่ 7 ณ โรงแรมศาลายาพาวิเลียน วันที่ 28 มีนาคม 2557 งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
ขั้นตอนการล้างทำความสะอาดถังน้ำขนาด 11.2 ลิตร ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต ภาชนะสำหรับล้างถังน้ำขนาด 11.2 ลิตร ด้วยคลอรีนน้ำ 0.2 Mg/l โครงการปรับปรุงห้องจัดเก็บสำรองน้ำ พื้นที่ขนาด 40 ตารางเมตร
ปัญหาและอุปสรรคการผลิตน้ำบริโภค สาเหตุ การแก้ไข 1.อุปกรณ์เครื่องจักรขาดการดูแล บำรุงรักษาตามแผน Procedure 1.จัดทีมงานที่รับผิดชอบตรวจเช็ค 2.หน้าที่ความรับผิดชอบตามแผน 2.ควบคุมกระบวนการผลิตให้ได้ตามมาตรฐานของ อย. 3.กฎระเบียบปฏิบัติต่างๆที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด 3.การมอบหมายดูแลความสะอาดภายในโรงเรือนการผลิตและการแต่งกายของเจ้าหน้าที่ 4.ความรับผิดชอบการดูแลความสะอาด
แนวทางการป้องกันและการแก้ไข ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) แนวทางการป้องกันและการแก้ไข ( เดือน ต.ค.55- เดือน ก.ย.56 ) น้ำดื่ม การป้องกัน 1. เฝ้าระวังตรวจเช็คคุณภาพน้ำดื่มตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ทำความสะอาดระบวนการผลิตเป็นประจำ 3. ใช้อุปกรณ์ป้องกันการปนเปื้อน 4. ตรวจเช็คความพร้อมใช้ของกระบวนการผลิตน้ำดื่มอย่าง สม่ำเสมอ 5. การตรวจสอบ ( Q C ) ผลหลังการผลิตและบันทึกผลอย่าง การแก้ไข 1. รายงานหัวหน้าช่าง 2. หยุดผลิตน้ำดื่มและเรียกเก็บน้ำดื่มที่จ่ายไปกลับคืน 3. ตรวจเช็คกระบวนการผลิตเพื่อหาสาเหตุ 4. คัดแยกสิ่งที่ตรวจพบว่าไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และติดตามกลับมาเพื่อแก้ไขติดป้ายบอกสถานะให้ชี้บ่ง ชัดเจนเพื่อป้องกันนำกลับมาใช้
-น้ำอุปโภค ผ่านเกณฑ์ 8 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ครั้ง ( KPI 66.6 % ) ผลตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา/น้ำดื่มทางแบคทีเรีย โดยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา(ก.ย.55-ต.ค.56) KPI การส่งตรวจวิเคราะห์ จำนวน 12 ครั้ง ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน 100 % -น้ำอุปโภค ผ่านเกณฑ์ 8 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ครั้ง ( KPI 66.6 % ) -น้ำบริโภค ผ่านเกณฑ์ 11 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 1 ครั้ง ( KPI 91.6 % )
รายงานการตรวจวิเคราะห์ น้ำขวดขนาด 600 ซีซี ของ บริษัท โชคเพชรสมุทร 1999 จำกัด ก.ย.55-ต.ค.56 ส่งผลการวิเคราะห์จากกรมวิทยาศาสตร์ ผ่านการตรวจสอบ 11 ครั้ง KPI 100% - Coli form count 2.2 CFU/100 ml - E. Coli count NF
KPI ผลวิเคราะห์ทางพิษวิทยา 2 ครั้ง/ ปี 22 ต.ค. 2555 (ผ่านการตรวจสอบ) 20 พ.ค. 2556 (ผ่านการตรวจสอบ)
หน่วยประปา งานซ่อมบำรุง จบการนำเสนอ