โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างอะตอม (Atomic structure) 10 โครงสร้างอะตอม (Atomic structure) J.J. Thomson (1879) J.J. Thomson (1856 - 1940) ค้นพบอิเล็กตรอน ซึ่ง - มีประจุไฟฟ้าลบ - มีมวลประมาณ1/2000 ของมวลของ H โดยศึกษาพฤติกรรมของ หลอดรังสีแคโทด ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

11 Cathode ray tube

มีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับ 12 = 1.76 x 10-8 คูลอมบ์ / กรัม e m e m มีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับ ชนิดของแก๊ส ชนิดของโลหะขั้วไฟฟ้า ชนิดของสารที่ใช้ทำหลอดรังสีแคโทด

Robert Millikan (1909) 13 หาประจุของอิเล็กตรอนโดย Millikan’s oil-drop experiment

ประจุของอิเล็กตรอน (e) = 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ 14 ประจุของอิเล็กตรอน (e) = 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ มวลของอิเล็กตรอน (m) = 1.60 x 10-19 C 1.76 x 108 C/g = 9.09 x 10 -28 g

Marie and Pierre Curie พบว่า ธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่า Bi จะปลด 15 Marie and Pierre Curie พบว่า ธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่า Bi จะปลด ปล่อยอนุภาคที่มีพลังงานสูง (รังสี a, b, g) ได้เอง

16 - +

Rutherford, Geiger & Marsden (1911) 17 Rutherford, Geiger & Marsden (1911) Rutherford ศึกษาการกระเจิง (scattering) ของอนุภาค a โดยแผ่นทองคำบางๆ

- ส่วนใหญ่ผ่านแผ่นทองคำบางๆโดยไม่มีการเบี่ยงเบน 18 พบว่าอนุภาค a - ส่วนใหญ่ผ่านแผ่นทองคำบางๆโดยไม่มีการเบี่ยงเบน - ส่วนน้อยมากสะท้อนกลับ - บางส่วนเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง

19 Rutherford เสนอว่า อนุภาคที่ทำให้อนุภาค a เกิดการสะท้อนกลับ (นิวเคลียส) 1. มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ~ 10-13cm ; ขนาดเล็กมาก 2. มีมวล > 99% ของมวลอะตอม ; เป็นบริเวณที่มีความหนาแน่นสูง 3. มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก มีมวล ~ 1/2 ของมวลอะตอม

Van der Broek (1913) พบว่าประจุนี้เท่ากับเลขอะตอม (Z) 20 Van der Broek (1913) พบว่าประจุนี้เท่ากับเลขอะตอม (Z) ซึ่งพิสูจน์โดย Chadwick (1920)

อะตอมนิวเคลียร์ (The Nuclear Atom) 21 อะตอมนิวเคลียร์ (The Nuclear Atom) นิวเคลียส เส้นผ่านศูนย์กลาง ~ 10-13 cm ปริมาตร ~ 10-39 cm3 ประจุไฟฟ้าบวก = เลขอะตอม

ความหนาแน่นเชิงมวล ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นเชิงมวลของสาร 22 ความหนาแน่นเชิงมวล ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นเชิงมวลของสาร ความหนาแน่นประจุไฟฟ้า ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นประจุไฟฟ้าของสาร แต่ละนิวเคลียสอยู่ห่างกัน ~ 10-8 cm ปริมาตรช่องว่าง ~ 10-24 cm

ไอโซโทป (ISOTOPES) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันซึ่งมีประจุ 23 ไอโซโทป (ISOTOPES) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันซึ่งมีประจุ ในนิวเคลียสเท่ากัน แต่มีมวลต่างกัน มวลอะตอมเฉลี่ย = S (%ไอโซโทปในธรรมชาติ x มวลอะตอม) 100

ตัวอย่างที่ 1 คลอรีนที่เกิดในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป คือ และ 24 ตัวอย่างที่ 1 คลอรีนที่เกิดในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป คือ และ มีมวลอะตอม 34.97 และมีในธรรมชาติ 75.53% มีมวลอะตอม 36.97 และมีในธรรมชาติ 24.47% จงคำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของ Cl 17Cl 35 37 35Cl 37Cl มวลอะตอมเฉลี่ย = (75.53 x 34.97)+(24.47 x 36.97) 100 = 35.45

25 Thomson (1913) ประดิษฐ์ Mass Spectrometer ใช้หามวลอะตอม

26