เลขควอนตัม (Quantum Numbers)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
03/04/60.
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Electronic Transition
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
โดย นาย สิริชัย นิธิอุทัย
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
A.1 Real Numbers and Their Properties
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 The z-transform การแปลงแซด
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
กราฟเบื้องต้น.
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
กราฟเบื้องต้น.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เลขควอนตัม (Quantum Numbers) 20 เลขควอนตัม (Quantum Numbers) แบบจำลองของโบร์ ใช้เลขควอนตัม n ในการ อธิบายวงโคจรของ e- แบบจำลองคลื่น ใช้เลขควอนตัมสามชนิดในการอธิบายการกระจายของ e- ในอะตอม คือ n, l, m

Principal Quantum Number (n) 21 เลขควอนตัม (Quantum Number) Principal Quantum Number (n) n = 1, 2, 3, ... . ถ้า n มีค่ามากขึ้น e- จะอยู่ห่างจากนิวเคลียสมากขึ้น พลังงานมากขึ้น เสถียรน้อยลง และออร์บิทัลมีขนาดใหญ่ขึ้น

Orbital Quantum Number หรือ Angular Momentum Quantum Number (l) 22 Orbital Quantum Number หรือ Angular Momentum Quantum Number (l) l บอกรูปร่างของออร์บิทัล l = 0, 1, 2 , … , n-1 (มี n ค่า) l 0 1 2 3 4 5 orbital s p d f g h

Magnetic Quantum Number (m) 23 Magnetic Quantum Number (m) อธิบายการจัดเรียงตัวของออร์บิทัล ค่า m ขึ้นกับ l m = 0, ฑ 1, ฑ 2, …, ฑ l (-l ถึง +l รวม 2l + 1 ค่า) จำนวนค่าของ m แสดงจำนวนออร์บิทัลสำหรับ l แต่ละค่า l = 0 , m = 0 (s มี 1 ออร์บิทัล ) l = 1 , m = -1, 0, 1 (p มี 3 ออร์บิทัล) l = 2 , m = -2, -1, 0, 1, 2 (d มี 5 ออร์บิทัล)

Electron Spin Quantum Number (s) 24 Electron Spin Quantum Number (s) e- s = -1/2 N S s = +1/2 e- จะหมุน (spin) รอบ แกนที่ผ่านจุดศูนย์กลาง ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก Counter - clockwise spin (high energy) Clockwise spin (low energy) s ไม่มีผลต่อพลังงาน ขนาด รูปร่าง หรือ การจัดเรียง ตัวของออร์บิทัล แต่แสดงการจัดเรียง e- ในออร์บิทัล

การแก้สมการ SchrÖdinger ใช้ spherical polar coordinates 25 การแก้สมการ SchrÖdinger ใช้ spherical polar coordinates Y(r,q,f) = R(r) Y(q,f) R(r) = radial wave fn. = R n,l(r) Y(q,f) = angular wave fn. = Y l,m (q,f)

Wave function ที่ระบุเลขควอนตัม เรียกว่า Atomic Orbital 26 Wave function ที่ระบุเลขควอนตัม เรียกว่า Atomic Orbital รูปร่างของออร์บิทัลได้จากการ plot Y2n, l, m ใน 3 มิติสำหรับ (r,q,f) ต่าง ๆ

ออร์บิทัลเชิงอะตอม (Atomic Orbitals) 27 ออร์บิทัลเชิงอะตอม (Atomic Orbitals) 1s orbital n = 1, l = 0 , m = 0 Y(r,q,f) = R(r) Y(q,f) radial wave function R 1,0(r) = e-kr

angular wave function Y 0,0 (q,f ) = 1 28 angular wave function Y 0,0 (q,f ) = 1 การกระจายเชิงมุม ไม่ขึ้นกับทิศทาง

2s Orbital n = 2 , l = 0 , m = 0 R 2,0(r) = (2- kr) e-kr/2 29 2s Orbital n = 2 , l = 0 , m = 0 R 2,0(r) = (2- kr) e-kr/2 Y0,0 ( q,f ) = 1

30 Nodes s-orbital

2p Orbital n = 2 , l = 1 , m = +1, 0, -1 R 2,1(r) = kr e-kr / 2 31 2p Orbital n = 2 , l = 1 , m = +1, 0, -1 R 2,1(r) = kr e-kr / 2 Y1,1 (q,f) = sin q cos f = x/r Px Y1,0 (q,f) = sin q cos f = y/r Py Y1,-1(q,f) = cos q = z/r Pz

32 p orbitals

33 3dx2- y2 3dz2 3dxy 3dxz 3dyz d orbitals

n l subshell m no. of orbitals atomic orbitals 34 ความสัมพันธ์ระหว่าง quantum numbers และ atomic orbitals n l subshell m no. of orbitals atomic orbitals 1 0 1s 0 1 1s 2 0 2s 0 1 2s 1 2p -1,0,1 3 2px, 2py, 2pz 3 0 3s 0 1 3s 1 3p -1,0,1 3 3px, 3py, 3pz 2 3d -2,-1,0,1,2 5 3dxy , 3dyz , 3dxz 3d x2- y2 , 3dz2

n l subshell m no. of orbitals atomic orbitals 35 ความสัมพันธ์ระหว่าง quantum numbers และ atomic orbitals n l subshell m no. of orbitals atomic orbitals 4 0 4s 0 1 4s 1 4p -1, 0, 1 3 4px, 4py, 4pz 2 4d -2,-1, 0, 1, 2 5 4dxy , 4dyz , 4dxz, 4dx2-y2 , 4dz2 3 4f -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3 7

ที่ว่างในอะตอม ประกอบด้วยบริเวณย่อย แต่ละออร์บิทัลมีสมมาตรเชิงรัศมี 36 แบบจำลองอะตอม อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนฟุ้งกระจาย อยู่รอบนิวเคลียส จนถึงระยะทางอนันต์ (มีโนดอยู่ที่ จุดอนันต์) ที่ว่างในอะตอม ประกอบด้วยบริเวณย่อย เรียกว่า ออร์บิทัล แต่ละออร์บิทัลมีสมมาตรเชิงรัศมี และเชิงมุมที่แน่นอน สามารถทะลุทะลวงกันเอง หรือ ซ้อนเกย (overlap) กับออร์บิทัลอื่น โดยไม่เกี่ยวข้องกัน ในแต่ละออร์บิทัลบรรจุได้ไม่เกิน 2e- แต่ไม่สามารถ กำหนดวงโคจรที่แน่นอนของ e-

37

ELECTRON CONFIGURATION 38 โครงแบบอิเล็กตรอน ELECTRON CONFIGURATION ใช้แสดงการกระจายของ e- ใน atomic orbitals ต่างๆ Hydrogen ( Z = 1) Electron Configuration 1s1 จำนวน e- ในออร์บิทัล n l

Orbital Diagram H Helium ( Z = 2 ) Electron configuration 1s2 He 1s2 39 Orbital Diagram H 1s1 Helium ( Z = 2 ) Electron configuration 1s2 He 1s2

(Pauli Exclusion Principle) 40 หลักกีดกันเพาลี (Pauli Exclusion Principle) ไม่มี e- คู่ใดในอะตอม มีเลขควอนตัมทั้งสี่เท่ากัน ถ้า 2 e- ในอะตอม มีค่า n, l, m เหมือนกัน (อยู่ใน atomic orbital เดียวกัน) จะต้องมีค่า s ต่างกัน แต่ละออร์บิทัล จะบรรจุ e- ได้มากที่สุด 2 e- ซึ่งมี สปินตรงกันข้าม (s ต่างกัน)

Diamagnetism and Paramagnetism 41 Diamagnetism and Paramagnetism e- N S e- N S พาราแมกเนติก ไดอะแมกเนติก

1H 1s Paramagnetic 2He 1s Diamagnetic Paramagnetic 3Li 1s 2s 42 1H 1s Paramagnetic 2He 1s Diamagnetic Paramagnetic 3Li 1s 2s Paired electron Unpaired electron

4Be 5B ใน principal quantum number เดียวกัน 43 ใน principal quantum number เดียวกัน ระดับพลังงาน s < p < d < f < … 4Be 1s 2s 2p diamagnetic 5B 1s 2s 2p paramagnetic 2px, 2py, 2pz มีพลังงานเท่ากัน ออร์บิทัลที่มีพลังงานเท่ากัน เรียกว่า degenerate orbitals

หลักเกณฑ์ฮุนด์ (Hund ’s Rule) 44 หลักเกณฑ์ฮุนด์ (Hund ’s Rule) การจัดเรียง e- ในออร์บิทัลที่เสถียรที่สุด คือ การจัด เรียงแบบที่มีจำนวนสปินในทิศทางเดียวกันมากที่สุด 6C Electron Configuration 1s2 2s2 2p2 หรือ C 1s2 2s2 2p2 paramagnetic