มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
โครงงานคอมพิวเตอร์.
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
Centrifugal Pump.
(Internal energy of system)
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องม้วนผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
ครูอำพรรณ ทรัพย์ประชา : ตากพิทยาคม
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
Department of Food Engineering
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย การทดลองที่ 2 มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย (Molar Mass of a Volatile Liquid) heat speed

วัตถุประสงค์ หามวลโมเลกุลของของเหลวระเหยง่าย ศึกษาสมบัติกายภาพของสารในสถานะแก๊ส

หลักการทดลอง ดำเนินการทดลองระเหยของเหลว ในขวดรูปกรวยให้กลายเป็นไอจน heat speed ดำเนินการทดลองระเหยของเหลว ในขวดรูปกรวยให้กลายเป็นไอจน หมดโดยแช่ขวดบรรจุสารปิดปาก ขวดด้วยกระดาษฟอยล์เจาะรูปเล็กๆ ในอ่างน้ำร้อน (water bath ) ดังนั้นความดันของแก๊สในภาชนะ จะเท่ากับความดันบรรยากาศ หมายเหตุ ของเหลวต้องมีจุดเดือด < 100o C

เท่ากับจุดเดือดของสาร หลังจากสารระเหยกลาย เป็นไอหมดทิ้งไว้ในอ่าง ขณะสารกลายเป็นไอ อุณหภูมิภายในภาชนะ เท่ากับจุดเดือดของสาร หลังจากสารระเหยกลาย เป็นไอหมดทิ้งไว้ในอ่าง น้ำร้อนอีกประมาณ 5 นาที ไอของสารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น จนเท่ากับอุณหภูมิน้ำร้อนภายนอก heat speed

เมื่อเอาขวดรูปกรวยออกจาก อ่างน้ำร้อนไอของสารใน ขวดจะเย็นลง ความดัน ของแก๊สในขวดลดลง อากาศจะแพร่ผ่านรูของ ฟอยล์กลับเข้าไปในขวด heat speed

ขณะดำเนินการทดลองจะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้ 1. อุณหภูมิของเอทานอลสูงขึ้น 2. เอทานอลกลายเป็นไอ ไอของ เอทานอลจะแทนที่อากาศซึ่งมี ความหนาแน่นน้อยกว่า 3. เมื่อถึงจุดเดือดของเอทานอล ของ เหลวเดือดกลายเป็นไอ ที่จุดนี้ไอมี อุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของเอทานอล 4. หลังจากเอทานอลเหลวเดือดหมด เมื่อให้ความร้อนต่อไปไอของเอทา นอลร้อนขึ้นจนเท่ากับอุณหภูมิของน้ำ

PV = nRT = ความดันบรรยากาศ V = ปริมาตรแก๊ส ( L) = ปริมาตรขวดรูปกรวย P = ความดันแก๊ส(atm) = ความดันบรรยากาศ V = ปริมาตรแก๊ส ( L) = ปริมาตรขวดรูปกรวย T = อุณหภูมิแก๊ส ( K ) = อุณหภูมิน้ำร้อน

คำนวณ จำนวนโมลจากกฎสภาวะของแก๊ส PV = nRT นำขวดรูปกรวยไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของไอสาร สามารถหามวลโมเลกุลได้จาก จำนวนโมล = น้ำหนักสาร มวลโมเลกุล น้ำหนักสาร มวลโมเลกุล = จำนวนโมล

วิธีการทดลอง ชั่งน้ำหนักขวดรูป กรวยแห้งขนาด 125 mL ที่ปิดด้วย กระดาษฟอยล์และ รัดด้วยหนังยาง

3. เติมน้ำประปาลงในบีกเกอร์ขนาด 600 mL ด้วยกระบอกตวงแล้วปิดปากด้วยกระดาษ ฟอยล์พร้อมหนังยางเดิม 3. เติมน้ำประปาลงในบีกเกอร์ขนาด 600 mL สูง 2/3 ของบีกเกอร์ จากนั้นตั้งบนเครื่อง ให้ความร้อน เจาะกระดาษฟอยล์ที่ปิดขวดรูปกรวย 1 รู ด้วยเข็มเล็กๆ

ยึดขวดรูปกรวยด้วยตัวหนีบยึดแล้วนำไปวางในบีกเกอร์น้ำดังรูป กระดาษฟอยล์ที่เจาะรูเล็กๆ เทอร์มอมิเตอร์ ตัวหนีบยึด ขวดรูปกรวยที่บรรจุเอทานอล ใส่ magnetic bar 1 แท่ง ลงในบีกเกอร์ เปิด power เครื่องให้ความร้อน

6. เมื่อของเหลวในขวดระเหยเป็นไอจนหมด แช่ในน้ำร้อนไว้ 5 นาที บันทึกอุณหภูมิของน้ำในบีกเกอร์ 7. นำขวดรูปกรวยออกจากบีกเกอร์ ปล่อยให้เย็นที่อุณหภูมิห้อง เช็ดขวดรูปกรวยด้านนอกให้แห้ง แล้วนำไปชั่งหาน้ำหนักของ ขวด + กระดาษฟอยล์ + หนังยาง และไอของสาร

คำนวณจำนวนโมลของไอเอทานอลในขวดรูปกรวย คำนวณมวลโมเลกุลของเอทานอล 8. ทำความสะอาดขวดรูปกรวย เช็ดให้แห้ง ไขน้ำจากบิวเรตจนกระทั่งน้ำปริ่มขวดพอดี บันทึกปริมาตรน้ำที่ใช้ ทำการทดลองข้อ 1-8 ซ้ำอีก 2 ครั้ง โดยใช้ขวดรูปกรวยแห้ง ใบใหม่ คำนวณจำนวนโมลของไอเอทานอลในขวดรูปกรวย คำนวณมวลโมเลกุลของเอทานอล 12. คำนวณหาค่าเฉลี่ยของมวลโมเลกุลเอทานอล

หาจำนวนโมลของไอเอทานอลที่บรรจุ เต็มในขวดรูปกรวยและมีอุณหภูมิเท่า การคำนวณ หาจำนวนโมลของไอเอทานอลที่บรรจุ เต็มในขวดรูปกรวยและมีอุณหภูมิเท่า กับอุณหภูมิน้ำร้อน nสาร = Patm x Vflask(L) 0.0821 L.atm mol-1 K-1 x Thot water(K)

nเอทานอล มวลโมเลกุลเอทานอล = Wเอทานอล หามวลโมเลกุลเฉลี่ยจากการทดลองทั้ง 3 ครั้ง % ความผิดพลาด = 46.0 - มวลโมเลกุลเฉลี่ย 46.0  100