บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

การเคลื่อนที่.
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
เครื่องเร่งอนุภาค แสงซินโครตรอนและการนำไปใช้
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
(Impulse and Impulsive force)
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
แนวโน้มของตารางธาตุ.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ระบบอนุภาค.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
บทที่ 18 Quarks, Leptons & Big Bang 1. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ spin
การสร้างแบบเสื้อและแขน
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การระเบิด Explosions.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
4.5 Gamma ray log gamma ray log เป็นการวัดค่ากัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นในธรรมชาติในชั้นหิน ในหินตะกอน ค่าที่อ่านได้จะสะท้อนถึงปริมาณของหินดินดานในชั้นหิน.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์(Nuclear Physics)
ฟิสิกส์นิวเคลียร์(Nuclear Physics)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ องค์ประกอบของนิวเคลียส กัมมันตภาพรังสี อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี Physics : James S Walker Physics for scientists and Engineers: Raymond A. Serway, Robert J. Beichner.

1. องค์ประกอบของนิวเคลียส Neutron Proton 1. องค์ประกอบของนิวเคลียส อนุภาค มวล ( kg ) ( MeV/c2 ) ( u ) ประจุ โปรตอน 1.672 623 × 10-27 938.28 1.007 276 +e นิวตรอน 1.674 929 × 10-27 939.57 1.008 665 -e อิเล็กตรอน 9.109 39 × 10-31 0.510 999 0.000 548 6 1u = 1.660540 × 10-27 kg , 1e = 1.6022 × 10-19 C 1u = 931.5 MeV/c2

จาก พลังงานที่สมมูลกับมวล 1u คือ

รัศมีเฉลี่ยของนิวเคลียส r = ro A1/3 ro = 1.2 × 10-15 m เลขมวล เลขอะตอม A = จำนวนโปรตอน + จำนวนนิวตรอน Z = จำนวนโปรตอน รัศมีเฉลี่ยของนิวเคลียส r = ro A1/3 ro = 1.2 × 10-15 m

2. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) กัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณ์ที่นิวเคลียสของธาตุที่ไม่เสถียรปลดปล่อยอนุภาคหรือโฟตอน (รังสี) แล้วกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ ธาตุที่แผ่รังสีได้เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element)

คุณสมบัติของรังสีที่มาจากการสลายนิวเคลียส แอลฟา (a , ) เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มีสามารถทำให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี จึงเสียพลังงานอย่างรวดเร็ว รังสีแอลฟามีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก วิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ 5 cm ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ บีตา (b -, ) คือ อิเล็กตรอน ที่มาจากการสลายของนิวเคลียส หรือ (b + ) เรียกว่าโพสิตรอน มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน และมีประจุ +e สามารถวิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ 0.5 m ทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมได้ 2-3 mm แกมมา (g ) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า สามารถทะลุผ่านแผ่นตะกั่วที่หนาหลายเซนติเมตรได้

กระบวนการปลดปล่อยรังสี การปล่อยรังสีแอลฟา (Alpha Decay) การปล่อยรังสีบีตา (Beta Decay) ถ้านิวเคลียสปล่อยอิเล็กตรอน (b - ) ถ้านิวเคลียสปล่อยโพสิตรอนตรอน (b +)

การปล่อยรังสีแกมมา (Gamma Decay)

3. อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี 3. อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี l = decay constant กัมมันตภาพ [ decay/s], Bq 1 Ci = 3.7x1010 Bq

จงพิสูจน์ว่าอัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นดังสมการ และ No T1/2 2T1/2 3T1/2 t No/2 No/4 No/8 N จงพิสูจน์ว่าอัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นดังสมการ และ เมื่อ Ao คือ อัตราการสลายตัวตอนเริ่มต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าคงที่ของการสลายตัว (l) และค่าครึ่งชีวิต (T1/2) จาก แทน t = T1/2 และ N = No/2 จะได้

การวัดอายุวัตถุโบราณ (Carbon Dating) 14C ไม่เสถียร เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในชั้นบรรยากาศโลกขณะที่มีการสลายตัวด้วยค่าครึ่งชีวิต 5730 ปี ทำให้อัตราส่วน 14C:12C=1.2 ×10-12 สิ่งมีชีวิตทั้งหลายขณะที่มีชีวิตอยู่ มีการแลกเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ กับบรรยากาศรอบตัว จึงมีอัตราส่วน 14C:12C เดียวกัน ต่อเมื่อตายลง 14C จะสลายตัวด้วยค่าครึ่งชีวิต 5730 ปี

T1/2 = 5730 y = 1.811011 s  = 0.693/T1/2 = 1.2110-4 y-1 = 3.8310-12 s-1 12C จำนวน 1 g ประกอบด้วย = (6.021023) /12 = 5.02 1022 อะตอม และ 14C = (1.20 10-12)(5.02 1022) = 6.02 1010 อะตอม กัมมันตภาพของ C 1 กรัม คือ Ao = No = (3.8310-12 s-1)(6.02 1010) = 0.231 Bq