วรรณคดีกับวิทยาศาสตร์: อมตะ ของวิมล ไทรนิ่มนวล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
บทเรียนโปรแกรม Power Point
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
แรงดึงดูด และ แรงจูงใจของงานการทำงานภัยพิบัติคือ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
Beautiful Quotes.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
Physiology of Crop Production
เศรษฐกิจพอเพียง.
การใช้เวลาว่างและนันทนาการ
ภูมิปัญญาไทย.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การพัฒนากระบวนการคิด
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Individual and Organizational)
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
ศิลปะการละคร กับ กระบวนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
ความล้มเหลวที่ซื่อสัตย์ดีกว่าความสำเร็จที่คดโกง
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
ข้อเสนอแนะ 1.ภาษาไทย สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระการฟัง การดูและการพูด มฐ. ท3.1 สาระหลักการใช้ภาษา มฐ. ท 4.1 สาระวรรณคดีและวรรณกรรม.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การสร้างสรรค์บทละคร.
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
องค์ประกอบของบทละคร.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
พื้นฐานที่สำคัญของการเขียนได้แก่. เข้าใจเรื่องที่จะเขียน หัวข้อหรือประเด็นของเรื่อง เนื้อหาของเรื่อง ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ จุดมุ่งหมายในการเขียน ขอบเขตของเรื่อง.
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วรรณคดีกับวิทยาศาสตร์: อมตะ ของวิมล ไทรนิ่มนวล โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์

นวนิยายซีไรต์ประจำปี 2543 “Amata is an imaginative novel about the future. It concerns the search for immortal life and is focused on the conflict between consumerism and religious belief of the East. The plot of the novel concerns cloning of human beings and organ transplantation, which leads to ethical and humanitarian problems. The outstanding point of this novel is that the author tackels the issues that could post problems in the future and takes these issues as the main plot…. The novel … challenges us to think further what is the real meaning f humanity and immortality.”

ประเด็นสำคัญของนวนิยาย การต่อสู้ระหว่างธรรมะกับอธรรม ธรรมะ --> พุทธศาสนา, ความรัก, การต่อสู้เพื่อรักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิม อธรรม --> วิทยาศาสตร์. เทคโนโลยี, ธุรกิจข้ามชาติ, โลกาภิวัตน์

แก่นเรื่อง การทำสำเนาพันธุกรรมมนุษย์ (human cloning) ปัญหาเกี่ยวกับการทำสำเนาพันธุกรรม ขาดเอกลักษณ์ทางพันธุกรรม ความเป็นไปได้ในการปลูกถ่ายอวัยวะโดยที่ร่างกายไม่ต่อต้าน --> หนทางสู่ความเป็นอมตะ ช่องทางสำหรับการทำธุรกิจบนร่างกายของมนุษย์

ความเชื่อพื้นฐาน ผู้แต่งดูจะเชื่อว่า ที่อยู่ของเอกลักษณ์ส่วนบุคคลอยู่ที่หัวใจ แทนที่จะเป็นสมองอย่างที่นักวิชาการส่วนมากคิด ด้วยเหตุนี้ เมื่ออรชุนเปลี่ยนสมองกับพรหมมินทร์ การเปลี่ยนตัวตนจึงไม่เกิดขึ้น ironic twist กลุ่มนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการเปลี่ยนตัวตนเกิดขึ้นแล้ว แต่จริงๆในเรื่องไม่เป็นเช่นนั้น ชัยชนะของภูมิปัญญาดั้งเดิม (?) ต่อวิทยาศาสตร์โลกาภิวัตน์

การมองงานศิลปะว่าเป็นตัวบ่งชี้สถานการณ์ทางสังคม นิธิ เอียวศรีวงศ์, “ปากไก่และใบเรือ” เป็นการมองงานวรรณกรรมของสุนทรภู่ในฐานะเป็นตัวบททางประวัติศาสตร์สมัยต้นรัตนโกสินทร์ เรามองงานศิลปะเช่นนี้ได้ ก็เพราะว่างานศิลปะใดๆก็ตาม ย่อมเป็นผลผลิตของคน เป็นการแสดงออกของความคิดความเชื่อ ทัศนคติของสังคม ในยุคสมัยนั้นๆ Zeitgeist

ระเบียบวิธี การมองงานศิลปะว่าเป็นผลิตผลทางสังคมและวัฒนธรรมเช่นนี้ ต่างจากแนวทางการศึกษาโดยทั่วไปของวรรณคดีศึกษาหรือวรรณคดีวิจารณ์ ที่มุ่งหา “คุณค่าทางวรรณศิลป์” ของตัวงานเป็นหลัก หรือหา “ความหมาย” ของตัวบทผ่านการตีความของผู้ศึกษา โดยไม่สนใจกับบริบททางสังคมวัฒนธรรม

ระเบียบวิธี การศึกษาเช่นนั้นเป็นสิ่งดี แต่ทำให้เราเลือกที่จะไม่มองผลผลิตทางวัฒนธรรมอื่นๆ ที่ไม่ได้มี “คุณค่าทางวรรณศิลป์” เท่าใด เช่นละครน้ำเน่า หรือวรรณกรรมชาวบ้าน หรือภาพยนตร์ เรากำลังทำ cultural studies ไม่ใช่ literary criticism อย่างแรกเป็นการรวมกันระหว่างสังคมศาสตร์กับมนุษยศาสตร์

เรื่อง อมตะ บอกอะไรเราเกี่ยวกับสังคมไทยปัจจุบัน การปะทะกันระหว่างกระแสความคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีจากตะวันตก กับภูมิปัญญาดั้งเดิมของไทย การมองว่ามีการประสานกันระหว่างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีกับโลกาภิวัตน์ พุทธศาสนาในฐานะแก่นรากของภูมิปัญญาของไทย กับวิทยาศาสตร์

อมตะ บอกอะไรเราได้อีก นวนิยายเรื่องนี้เป็นความพยายามหนึ่งของสังคมไทย ในการตอบโต้กับวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 วิกฤตนี้เป็นผลพวงของการเปิดเสรีทางการเงิน ทำให้คนไทยติดพันอยู่กับกระแสโลกมากจนเกินไป แรงต้านอยู่ที่การมองหาแหล่งทรัพยากรทางปัญญาที่เป็นของของเราเอง

จริยศาสตร์ของการโคลนนิ่ง ในเรื่องนี้การทำสำเนาพันธุกรรม หรือ “โคลนนิ่ง” ทำไปเพื่อจุดประสงค์ในการยืดชีวิตของคนบางคน โดยอาศัยชีวิตของอีกคนหนึ่ง การทำเช่นนี้ผิดหลักจริยธรรมของทุกศาสนา ดังนั้นเหตุผลที่วิมลเสนอเช่นนี้ ก็น่ามาจากว่าเขามีทรรศนะในเชิงลบต่อเทคโนโลยี วิมลดูจะเชื่อว่าวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยีต้องขัดกับหลักจริยธรรมเสมอ

วิทยาศาสตร์ พุทธศาสนา โลกาภิวัตน์ เพื่อให้เข้าใจเรื่องทั้งหมด เราต้องแยกแยะความสัมพันธ์กันในด้านต่างๆระหว่างวิทยาศาสตร์ (รวมเทคโนโลยี) พุทธศาสนา กับโลกาภิวัตน์ วิมลเชื่อว่าวิทยาศาสตร์กับโลกาภิวัตน์ต้องไปด้วยกัน และพุทธศาสนาอยู่อีกฝ่ายหนึ่ง

วิทยาศาสตร์ พุทธศาสนา โลกาภิวัตน์ แต่เราก็มีพุทธศาสนาที่แนบแน่นกับโลกาภิวัตน์ (พุทธพาณิชย์ การเผยแพร่ธรรมะในต่างแดน วัดธรรมกาย ฯลฯ) นอกจากนี้เราก็อาจมีวิทยาศาสตร์ที่ไม่ผูกพันกับโลกาภิวัตน์ก็ได้ (วิทยาศาสตร์ชุมชน) ทางเลือกใหม่ๆเรานี้เปิดให้เราเห็นได้จากการอ่านและวิเคราะห์งานของวิมล