การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
การเทียบความทึบแสง (Spectrophotometry)
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
1st Law of Thermodynamics
1. สเกลเทอร์โมมิเตอร์ ขั้นตอนการทดลอง น้ำกลั่น
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)

1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
sensION 2 pH/ISE Meter Calibrate and Maintenance
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
วิธีชัณสูตรแรงแอลกอฮอล์ในน้ำสุรา สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่เลยสาขาเมือง
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปุ่มชงกาแฟ ปุ่มจ่ายน้ำร้อน ปุ่มจ่ายไอน้ำ วาล์วจ่ายไอน้ำ ก้านจ่ายไอน้ำ
Department of Food Engineering
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
การประเมินส่วนราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์

การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี

การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี น้ำ ก่อนเกิดปฏิกิริยา T เริ่ม oC ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี หลังเกิดปฏิกิริยา T สุดท้าย oC

q = CDT q คือ ความร้อน มีหน่วยเป็น calorie (cal) C คือ ความจุความร้อน (heat capacity) หน่วย cal/ OC DT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

q = msDT q คือ ความร้อน หน่วย cal m คือ มวลของสาร ในหน่วย กรัม (g) (specific heat capacity) หน่วย cal g-1 OC-1 DT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

อุปกรณ์ที่ใช้วัดความร้อนคือ เครื่องแคลอริมิเตอร์ แท่งแก้วคน เทอร์โมมิเตอร์ Insulator น้ำ

ไม่ดูดหรือคายความร้อน ความร้อนที่น้ำได้รับหรือให้ = ในกรณีที่อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ ไม่ดูดหรือคายความร้อน ความร้อนที่น้ำได้รับหรือให้ = ความร้อนที่ระบบให้หรือได้รับ ซึ่งจะส่งผลให้น้ำมีอุณหภูมิ เปลี่ยนไป

-qr = q + qc อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น H2O qr = ความร้อนที่ระบบให้หรือได้รับจาก กระบวนการเปลี่ยนแปลง หน่วย cal

-qr = q + qc อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น H2O q = ความร้อนที่น้ำได้รับหรือสูญเสียไป หน่วย cal H2O

-qr = q + qc อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น H2O qc = ความร้อนที่แคลอริมิเตอร์ได้รับหรือ สูญเสียไป หน่วย cal

-qr = q + qc = msDT + qc m = มวลของน้ำในแคลอริมิเตอร์ หน่วย g H2O = msDT + qc m = มวลของน้ำในแคลอริมิเตอร์ หน่วย g s = ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 1.0 cal/g oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

-qr = q + qc = msDT + CcDT Cc = ค่าคงที่ของแคลอริมิเตอร์ หน่วย cal/ oC H2O = msDT + CcDT Cc = ค่าคงที่ของแคลอริมิเตอร์ หน่วย cal/ oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

-qr = msDT + CcDT ถ้าทราบ มวลของน้ำ (m) ก็จะหาความร้อนที่ระบบปลดปล่อย หรือดูดกลืนได้(qr)

การทดลอง แบ่งออกเป็น 3 ตอนดังนี้ 1. การหาค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ 2. การหาค่าเอนทัลปีของสารละลาย 3. การหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl

ตอนที่ 1 การหาค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ วิธีทดลอง 1. ไขน้ำกลั่น 25 mL ตอนที่ 1 การหาค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ วิธีทดลอง 1. ไขน้ำกลั่น 25 mL จากบิวเรตใส่ใน แคลอริมิเตอร์ 25 mL

2. ปิดฝา ทิ้งไว้ 5-10 นาที แล้วบันทึกอุณหภูมิ ….. oC

3. ไขน้ำกลั่น 25 mL ลงในบีกเกอร์ 50 mL 50 mL 50 mL 25 mL 50 mL

4. ต้มน้ำในบีกเกอร์ จนอุณหภูมิ 45 oC บันทึกอุณหภูมิ 45oC 50 mL speed heat speed

5. ผสมน้ำอุ่นลงในแคลอริมิเตอร์ 50 mL 50 mL 50 mL 50 mL

คนให้ทั่ว บันทึกอุณหภูมิ ….. oC 6. คำนวณค่าคงที่ของเครื่องแคลอริมิเตอร์ 7. ทำซ้ำครั้งที่ 2 หาค่าเฉลี่ยของค่าคงที่ แคลอริมิเตอร์

-qhot = qcold + qcalorimeter -msDT1 = msDT2 + CcDT2 การคำนวณ -qhot = qcold + qcalorimeter -msDT1 = msDT2 + CcDT2 DT1 = T(น้ำผสม) - T(น้ำอุ่น) < 0 DT2 = T(น้ำผสม) - T(น้ำเย็น) > 0 -(m1sDT1 + m2sDT2) Cc = DT2

-(m1sDT1 + m2sDT2) Cc = DT2 m หาจาก d (ความหนาแน่น) = 1 g/mL m = 25 g H2O m = 25 g s = 1 cal/g oC เพราะฉะนั้น Cc = ……….. cal/oC

วิธีทดลอง 1. ชั่งน้ำหนักเครื่อง แคลอริมิเตอร์ ตอนที่ 2 การหาค่าเอนทัลปีของสารละลาย วิธีทดลอง XX.XX 1. ชั่งน้ำหนักเครื่อง แคลอริมิเตอร์

เครื่องแคลอริมิเตอร์ 2. ไขน้ำกลั่น 50 mL จากบิวเรตลงใน เครื่องแคลอริมิเตอร์ 50 mL

3. ชั่งน้ำหนัก ทิ้งไว้ประมาณ 5-10 นาที แล้วบันทึกอุณหภูมิ …... oC ….. g xxx.xx g

4. ตัก CaCl2 ประมาณ 2 กรัม ใส่ในหลอด ทดลอง ชั่งให้รู้น้ำหนักที่แน่นอน (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง) บันทึกค่าน้ำหนัก 5. เทสารใส่ลงในแคลอริมิเตอร์ คนให้ทั่ว จนสารละลายหมด บันทึกอุณหภูมิสุดท้าย ….. oC

6. ชั่งน้ำหนักหลอดทดลองพร้อมสารที่ติดค้าง เพื่อนำไปหาน้ำหนักสารที่ใช้จริง 7. ทำการทดลองซ้ำโดยเปลี่ยนสารจาก CaCl2 เป็น KNO3 และ Na2CO3 ตามลำดับ 8. คำนวณค่าเอนทัลปีของการละลายสำหรับ CaCl2, KNO3 และ Na2CO3

การคำนวณ DTsoln = Tหลังละลาย - Tก่อนละลาย เอนทัลปีของการละลาย (DHsoln = qr/molสาร) -qr = qsoln + qc = (msoln ssoln + Cc) DTsoln msoln = มวลของสารละลาย (น้ำ + สาร) ssoln = ความจุความร้อนจำเพาะของสารละลาย = s ของน้ำ = 1.0 cal/g oC DTsoln = Tหลังละลาย - Tก่อนละลาย

ตอนที่ 3 การหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl วิธีการทดลอง ??.?? g 1. ชั่งน้ำหนักเครื่อง แคลอริมิเตอร์ …... g

แคลอริมิเตอร์ ทิ้งไว้ ประมาณ 5-10 นาที บันทึกอุณหภูมิเริ่มต้น 2. ไข NaOH 1.0 M 50 mL จากบิวเรต ใส่ใน แคลอริมิเตอร์ ทิ้งไว้ ประมาณ 5-10 นาที บันทึกอุณหภูมิเริ่มต้น 50 mL ….. oC

บันทึกอุณหภูมิสุดท้าย 3. ไข HCl 1.0 M 50 mL จากบิวเรต ใส่ใน แคลอริมิเตอร์ คนสาร ละลายผสมเบา ๆ บันทึกอุณหภูมิสุดท้าย 50 mL ….. oC

4. ชั่งน้ำหนักแคลอริมิเตอร์ พร้อมสารละลายผสม xxx.xx g ….. g

5. คำนวณหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินต่อโมลของน้ำที่เกิดขึ้น

การคำนวณ -qr = qsoln + qc = (m s + Cc) DT m = มวลของสารละลายผสม หน่วย g s = ความจุความร้อนจำเพาะของสารละลายผสม = s ของน้ำ = 1.0 cal/g oC Cc = ค่าคงที่ของแคลอริมิเตอร์ หน่วย cal/ oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

ปฏิกิริยาสะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl NaOH + HCl NaCl + H2O 1 mol NaOH 1 M 50 mL = x mol = H2O ความร้อนของปฏิกิริยาสะเทินต่อโมลของน้ำที่เกิดขึ้น = q / x หน่วย cal/mol

บท พากย์ รศ.ดร. วุฒิชัย พาราสุข อ.ดร. สมศักดิ์ ตนหมั่นเพียร รศ.ดร. วุฒิชัย พาราสุข อ.ดร. สมศักดิ์ ตนหมั่นเพียร พากย์ อ.ดร. สมศักดิ์ ตนหมั่นเพียร