C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Photochemistry.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
หินแปร (Metamorphic rocks)
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
การเสื่อมเสียของอาหาร
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
ขยะกับก๊าซหุงต้ม.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
สังกะสี แคดเมียม.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
Alkynes 1-butyne 2-butyne
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
มลภาวะ (pollution).
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction 1. ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากสารโมเลกุลเล็กๆ รวมตัวกันเป็นสารโมเลกุลใหญ่ ธาตุสองชนิดอาจรวมกันแล้วได้สารผลิตภัณฑ์หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น ปฏิกิริยาเผาไหม้ (Combustion) : - ออกซิเจนรวมกับสารประกอบอื่น - ทำให้เกิด CO2 (g) และ H2O - เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O

การสังเคราะห์ (Synthesis) : - สารประกอบสองชนิดขึ้นไปรวมกันเป็น 1 ชนิด - ตัวอย่างเช่น 8Fe + S8  8FeS

2(H-O-H)  2(H-H) + O=O 2. ปฏิกิริยาสลายตัว (Decomposition) : - เป็นปฏิกิริยาตรงข้ามกับการสังเคราะห์ - สลายหรือแตกตัวโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็ก - ตัวอย่างเช่น 2 H2O  2H2 + O2 2(H-O-H)  2(H-H) + O=O สลายพันธะ H-O จำนวน 4 พันธะ สร้างพันธะ H-H จำนวน 1 พันธะ สร้างพันธะ O=O จำนวน 1 พันธะ

3. ปฏิกิริยาแทนที่ (Replacement) : - ธาตุอะตอมหนึ่งแทนที่ธาตุอีกอะตอมหนึ่งในสารประกอบ - ตัวอย่างเช่น 1) Mg(s) + 2 H2O  Mg(OH)2 + H2 ....Single Replacement 2) Pb(NO3)2 + 2 KI  PbI2 + 2KNO3 ....Double Replacement Single Replacement Double Replacement

KMnO4 (s) K2MnO4(s) + MnO2(s) +O2(g) ปฏิกิริยาสะเทิน (Nuelization) : - เป็นปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส - เป็นปฏิกิริยาระหว่าง H+ และ OH- - เกิดเกลือกับน้ำ - ตัวอย่างเช่น HBr + NaOH  NaBr + H2O ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction): - ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน เช่น +7 +4 KMnO4 (s) K2MnO4(s) + MnO2(s) +O2(g) -2 0