พันธะเคมี Chemical bonding.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Electrophilic Substitution of Benzene
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
Intermolecular Forces
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Periodic Table.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
การสร้างระบบFUZZY. การสร้างระบบ FUZZY การสรางระบบฟซซีโดยผูเชี่ยวชาญ โดยทั่วไปแลวผูเชี่ยวชาญในปญหานั้น ๆ จะเปนผูที่สามารถชวยนักเขียนโปรแกรมในการ.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สารประกอบ.
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
พันธะเคมี.
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธะเคมี Chemical bonding

บทนำ

กฎออกเตต

พันธะเคมี พันธะเคมี หมายถึง แรงดึงดูดระหวาง “อะตอม” “โมเลกุล”หรือ “ไอออน” แรงทางเคมี ทําใหอะตอมเสถียรกวาอยูเดี่ยว ๆ เปนการให, รับ, หรือใช V.ē รวมกัน

ชนิดของพันธะเคมี พันธะไอออนิก พันธะโควาเลนซ์ ระหวาง พันธะโลหะ พันธะไฮโดรเจน แรงแวนเดอร์วาลล์ ระหวาง อะตอม, ไอออน (ภายในโมเลกุล) ระหวางโมเลกุล

พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต) Lewis Structure สารประกอบที่เกิดพันธะไอออนิกเรียกวา “สารประกอบไอออนิก”

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก  cation  ให ē V.ē ครบ 8 (กฏชุด 8) “octet rule”  anion  รับ ē ประจุบนไอออน = ไอออนิกเวเลนซ หรือ อิเล็กโทรเวเลนซ์ คือ ประจุที่เกิดจาก การให/รับ อิเล็กตรอนจริงๆ  ผลบวกของไอออนิกเวเลนซมีคาเปนศูนย์  สูตร  NaCl, MgCl2, CaO

การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ธาตุแทรนซิชันมีไอออนิกเวเลนซไดหลายคา เนื่องจาก ē ใน d-orbital อาจหลุดไปหนึ่ง ē หรือมากกวา เชน  มี ionic valence หลายคา

พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

สมบัติของสารประกอบไอออนิก  ไมเปนโมเลกุล แตเปนกลุม cation กับ anion มาอยูรวมกัน เชน Na+Cl- (ผลึก)  เมื่อเปนของแข็งไมนําไฟฟา  นําไฟฟาเมื่อเปนของเหลวหรือสารละลาย  จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงความดันไอต่ำ  ไอออนมีแรงดึงดูดกันอยางแรง ตองใชพลังงานมากใน การคลายไอออนออกจากกัน

สมบัติของสารประกอบไอออนิก ละลายไดดีใน solvent ที่มีคาคงตัวไดอิเล็กทริก (dielectric constant) สูง ไดแกสารมีขั้ว เชน H2O (ความสามารถในการทําใหแรงดึงดูดของไอออน+, - ลดลง)  สวนมากแข็งแตเปราะ  ปฏิกิริยามักเกิดเร็ว ( เกิดระหวาง ion)

พันธะโควาเลนซ์ พันธะโควาเลนซ์ คือ พันธะที่เกิดจากการที่อะตอมใชอิเล็กตรอนรวมกัน  เกิดจากการรวมกันของธาตุที่เป็นอโลหะ + อโลหะ  มี 2 แบบ คือ  พันธะโคเวเลนตธรรมดา  พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต ทั้ง 2 แบบมีสมบัติเหมือนกัน แตการเกิดตางกัน

พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา  อะตอมใชคู ē รวมกัน แตละอะตอมมี V.ē ครบ 8 (ยกเวน H )  อิเล็กตรอนที่ใชในการเกิด 1 พันธะ (2 อิเล็กตรอน)

พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา พันธะโคเวเลนซ มี 3 ชนิด คือ 1. พันธะเดี่ยว  ใช้ e ร่วมกัน 1 คู่

พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา 2. พันธะคู่  ใช้ e ร่วมกัน 2 คู่

พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา 3. พันธะสาม  ใช้ e ร่วมกัน 3 คู่

การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)  นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ  1. เขียนอะตอมทั้งหมดใหอะตอมที่เกิดพันธะกันอยูใกลกัน (ถามี 3 อะตอม อะตอมที่ E.N. ต่ำาอยูกลาง ) ยกเวน H ใชเปนอะตอมกลางไมได้ 2. หาจํานวน V.ē ทั้งหมดซึ่ง = V.ē ของอะตอมทุกอะตอม รวมกัน Cation  ลด ē ลงเทาประจุ Anion  เพิ่ม ē เทาประจุ  นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ 

การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์) 3. ใช V.e เขียน รอบอะตอมที่อยูติดกัน คูละ 2 e 4. ใช e ที่เหลือเขียนรอบอะตอม ที่ไมใชอะตอมกลางใหครบ 8 แลว จึงเขียนรอบ อะตอมกลาง 5. ถาใชเวเลนซอิเล็กตรอนหมดแลวอะตอมกลางยังไมครบ 8 ē แสดงวาอาจมีพันธะคู หรือ พันธะสามดวย

การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)

การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)

พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต พันธะโคเวเลนตชนิดหนึ่งที่มีอะตอมหนึ่งให Lone paired electron กับอะตอมที่รับคูอิเล็กตรอนนั้นเพื่อสรางพันธะ  หลังจากเกิดพันธะแลว อะตอมทั้งสองจะใชอิเล็กตรอน รวมกัน เชน H+ + :NH3  NH4+

พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต N เป็นฝ่ายให้คู่อิเล็กตรอนกับ H ในการสร้างพันธะ

การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) หรือ ขอยกเวนของกฎออกเทต 1. สารประกอบของ Be, B  Be, B มี ē รอบอะตอมกลางนอยกวา 8 เชน BeCl2 , BF3

การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) 2. ธาตุคาบ 3 ขึ้นไป (เชน s, p) เมื่อเปนอะตอมกลางอาจ มี ē > 8 ได (อะตอมที่ไมใชอะตอมกลาง ē ตอง = 8 เสมอ) หมู 5 เชน P (PCl3 ē รอบ P = 8, PCl5 ē รอบ P = 10) หมู 6 เชน S (SCl3+ ē รอบ S = 8, SF6 ē รอบ S = 12)

 อิเล็คตรอนที่ใชในการเกิดพันธะ 1 พันธะ (2ē) เรียกวา คูพันธะ (bonded pair)  คูอิเล็คตรอน (2ē) ที่ไมไดใชในการเกิดพันธะ เรียกวา คูโดดเดี่ยว (lone pair)  แตอิเล็คตรอนเดี่ยว (single electron) คือ อิเล็คตรอนที่ไม่มีคู่

การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)

การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)

การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) 3. มีโมเลกุล ที่เสถียร ที่มี V.ē เปนเลขคี่ (มี ē เดี่ยว) เชน  NO (5 + 6 = 11 ē)

Transitional Page

elements www.animationfactory.com