พันธะเคมี Chemical bonding
บทนำ
กฎออกเตต
พันธะเคมี พันธะเคมี หมายถึง แรงดึงดูดระหวาง “อะตอม” “โมเลกุล”หรือ “ไอออน” แรงทางเคมี ทําใหอะตอมเสถียรกวาอยูเดี่ยว ๆ เปนการให, รับ, หรือใช V.ē รวมกัน
ชนิดของพันธะเคมี พันธะไอออนิก พันธะโควาเลนซ์ ระหวาง พันธะโลหะ พันธะไฮโดรเจน แรงแวนเดอร์วาลล์ ระหวาง อะตอม, ไอออน (ภายในโมเลกุล) ระหวางโมเลกุล
พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)
พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)
พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต) Lewis Structure สารประกอบที่เกิดพันธะไอออนิกเรียกวา “สารประกอบไอออนิก”
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
สูตรแบบจุด (Lewis Structure)
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก cation ให ē V.ē ครบ 8 (กฏชุด 8) “octet rule” anion รับ ē ประจุบนไอออน = ไอออนิกเวเลนซ หรือ อิเล็กโทรเวเลนซ์ คือ ประจุที่เกิดจาก การให/รับ อิเล็กตรอนจริงๆ ผลบวกของไอออนิกเวเลนซมีคาเปนศูนย์ สูตร NaCl, MgCl2, CaO
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ธาตุแทรนซิชันมีไอออนิกเวเลนซไดหลายคา เนื่องจาก ē ใน d-orbital อาจหลุดไปหนึ่ง ē หรือมากกวา เชน มี ionic valence หลายคา
พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)
สมบัติของสารประกอบไอออนิก ไมเปนโมเลกุล แตเปนกลุม cation กับ anion มาอยูรวมกัน เชน Na+Cl- (ผลึก) เมื่อเปนของแข็งไมนําไฟฟา นําไฟฟาเมื่อเปนของเหลวหรือสารละลาย จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงความดันไอต่ำ ไอออนมีแรงดึงดูดกันอยางแรง ตองใชพลังงานมากใน การคลายไอออนออกจากกัน
สมบัติของสารประกอบไอออนิก ละลายไดดีใน solvent ที่มีคาคงตัวไดอิเล็กทริก (dielectric constant) สูง ไดแกสารมีขั้ว เชน H2O (ความสามารถในการทําใหแรงดึงดูดของไอออน+, - ลดลง) สวนมากแข็งแตเปราะ ปฏิกิริยามักเกิดเร็ว ( เกิดระหวาง ion)
พันธะโควาเลนซ์ พันธะโควาเลนซ์ คือ พันธะที่เกิดจากการที่อะตอมใชอิเล็กตรอนรวมกัน เกิดจากการรวมกันของธาตุที่เป็นอโลหะ + อโลหะ มี 2 แบบ คือ พันธะโคเวเลนตธรรมดา พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต ทั้ง 2 แบบมีสมบัติเหมือนกัน แตการเกิดตางกัน
พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา อะตอมใชคู ē รวมกัน แตละอะตอมมี V.ē ครบ 8 (ยกเวน H ) อิเล็กตรอนที่ใชในการเกิด 1 พันธะ (2 อิเล็กตรอน)
พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา พันธะโคเวเลนซ มี 3 ชนิด คือ 1. พันธะเดี่ยว ใช้ e ร่วมกัน 1 คู่
พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา 2. พันธะคู่ ใช้ e ร่วมกัน 2 คู่
พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา 3. พันธะสาม ใช้ e ร่วมกัน 3 คู่
การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์) นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ 1. เขียนอะตอมทั้งหมดใหอะตอมที่เกิดพันธะกันอยูใกลกัน (ถามี 3 อะตอม อะตอมที่ E.N. ต่ำาอยูกลาง ) ยกเวน H ใชเปนอะตอมกลางไมได้ 2. หาจํานวน V.ē ทั้งหมดซึ่ง = V.ē ของอะตอมทุกอะตอม รวมกัน Cation ลด ē ลงเทาประจุ Anion เพิ่ม ē เทาประจุ นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ
การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์) 3. ใช V.e เขียน รอบอะตอมที่อยูติดกัน คูละ 2 e 4. ใช e ที่เหลือเขียนรอบอะตอม ที่ไมใชอะตอมกลางใหครบ 8 แลว จึงเขียนรอบ อะตอมกลาง 5. ถาใชเวเลนซอิเล็กตรอนหมดแลวอะตอมกลางยังไมครบ 8 ē แสดงวาอาจมีพันธะคู หรือ พันธะสามดวย
การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)
การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)
พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต พันธะโคเวเลนตชนิดหนึ่งที่มีอะตอมหนึ่งให Lone paired electron กับอะตอมที่รับคูอิเล็กตรอนนั้นเพื่อสรางพันธะ หลังจากเกิดพันธะแลว อะตอมทั้งสองจะใชอิเล็กตรอน รวมกัน เชน H+ + :NH3 NH4+
พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต N เป็นฝ่ายให้คู่อิเล็กตรอนกับ H ในการสร้างพันธะ
การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) หรือ ขอยกเวนของกฎออกเทต 1. สารประกอบของ Be, B Be, B มี ē รอบอะตอมกลางนอยกวา 8 เชน BeCl2 , BF3
การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) 2. ธาตุคาบ 3 ขึ้นไป (เชน s, p) เมื่อเปนอะตอมกลางอาจ มี ē > 8 ได (อะตอมที่ไมใชอะตอมกลาง ē ตอง = 8 เสมอ) หมู 5 เชน P (PCl3 ē รอบ P = 8, PCl5 ē รอบ P = 10) หมู 6 เชน S (SCl3+ ē รอบ S = 8, SF6 ē รอบ S = 12)
อิเล็คตรอนที่ใชในการเกิดพันธะ 1 พันธะ (2ē) เรียกวา คูพันธะ (bonded pair) คูอิเล็คตรอน (2ē) ที่ไมไดใชในการเกิดพันธะ เรียกวา คูโดดเดี่ยว (lone pair) แตอิเล็คตรอนเดี่ยว (single electron) คือ อิเล็คตรอนที่ไม่มีคู่
การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)
การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)
การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet) 3. มีโมเลกุล ที่เสถียร ที่มี V.ē เปนเลขคี่ (มี ē เดี่ยว) เชน NO (5 + 6 = 11 ē)
Transitional Page
elements www.animationfactory.com