วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดแต่งกายประจำชาติ ในอาเซียน
Advertisements

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
จัดทำโดย นางสาวอัคคณัฏฐา อำไพ
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สิงคโปร์.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
ชุดประจำชาติของแต่ละประเทศในภูมิภาคอาเซียน
วัฒนธรรมของประเทศลาว
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
รสชาติอาหารจีน 4 ตระกูล อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
สัปดาห์ที่ 7 : ศิลปะขอมในประเทศไทย (สถาปัตยกรรม)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
มิสรจนา อินกลับ งานเทคโนโลยี โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา
อาเซียนการแต่งกาย การแต่งของประเทศอาเซียน จัดทำโดย
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
ระบบความเชื่อ.
ด. ช. จิรายุทธ คำพา ป4.1 เลขที่ 1
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3.ศร ศิลปบรรเลง ยินดีต้อนรับเข้สู่ แบบทดสอบ วิชาศิลปะ
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงการอาชีพ การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
จังหวัดปราจีนบุรี คำขวัญประจำจังหวัด
ตราด.
เครื่องดนตรีไทย ดนตรีนาฏศิลป์ จัดทำโดย ครูกฤษณ์พงศ์ บุญทวี
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดีย
ASEAN ASSOCIATION MALAYSIA.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
ท วรรณกรรมปัจจุบัน.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ประเภทของวรรณกรรม.
การออกแบบการเรียนรู้ โดย ครูจตุพล สุทธิพันธ์
ศาสนาในประเทศไทย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
องค์ประกอบของบทละคร.
รำวงมาตรฐาน.
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของสิงคโปร
โดย รองศาสตราจารย์จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง คลิกเม้าส์เพื่อเปิดหน้า 2
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เครื่องดนตรีของประเทศต่างๆ
วัฒนธรรมศาสตร์ ศิลป์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ละครเงา
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ประเทศฟิลิปปินส์ จัดทำโดย ด.ญ.ธนัชชา เลือดไทย เลขที่ 40 ชั้น ม.2/12
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย

เมนูหลัก การแต่งกาย ศิลปะและวรรณคดี สถาปัตยกรรม ดนตรี ศิลปะการแสดง

การแต่งกาย ชาวอินโดนีเซีย แต่งกายโดยการนุ่งโสร่งปาเต๊ะมาจากมาเลเซีย มีการทำโสร่งปาเต๊ะหรือบาติกและเครื่องหนังที่ขึ้น ชื่อมาก ผู้หญิง สวมเสื้อแขนยาวพอดี คอแหลม ผ่าหน้าอกเข้ารูปเล็กน้อย ยาวปิดสะโพก เข้ากับ โสร่งที่เป็นลวดลาย ใช้สีสันกันเป็นทางบ้างดอกบ้าง ใช้ผ้ายาว ๆ คล้องคอเช่นเดียวกับชาวมาเลเซีย ต่างกันที่คอเสื้อ ชาวมาเลเซียจะเป็นคอยู และเสื้อยาว ผู้ชาย แต่งชุดสากล ผูกไทด์ลายผ้าปาเต๊ะ สวมหมวกคล้ายหมวกหนีบ 

ศิลปะและวรรณคดี ชาวอินเดียเป็นผู้รักศิลปะและวรรณคดีมาช้านานแล้ว สังเกตได้จากลวดลายของเครื่องแต่งกาย บ้านที่พักอาศัย ศาสนสถาน และนาฎศิลป์ ต่าง ๆ ศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย มิได้ยึดถือตามที่สืบทอดกันมาแต่ในอดีตเท่านั้น แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างได้พัฒนาเปลี่ยนไปตามแต่ละยุค แต่ละสมัย ที่มีอิทธิพลต่อประเทศอินโดนีเซีย 

สถาปัตยกรรม มีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพของภูมิประเทศและอิทธิพลของศาสนา แต่ส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับประเทศต่าง ๆ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  อาคารบ้านเรือนของประชาชนโดยทั่ว ๆ ไปจะใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ส่วนเทวสถานบางแห่ง เช่น สถูปโบโรพุทโธ ซึ่งมีชื่อเสียงมากได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมของศาสนาฮินดู

ดนตรี ในสมัยโบราณ อินโดนีเซียมีวงดนตรีพื้นเมืองมีชื่อเสียงมากเรียกว่า ตมิลาน ประกอบด้วย เครื่องดนตรีคล้ายระนาด กลอง ฆ้อง ซอสองสาย และขลุ่ย ซึ่งนอกจากเป็นดนตรีประจำราชสำนักของสุลต่านต่าง ๆ บนเกาะชวาแล้ว ดนตรีดังกล่าวยังทำหน้าที่เผยแพร่ศาสนาอิสลามด้วย แต่ปัจจุบันวงดนตรีตมิลานได้กลายเป็นวงดนตรีสำหรับการฟ้อนรำ การแสดงนาฏศิลป์ และการแสดงหนังตะลุง นอกจากนี้อินโดนีเซียยังมีวงดนตรีอังกะลุงด้วย

ศิลปะการแสดง การมหรสพของอินโดนีเซียได้แก่ ละครและภาพยนตร์ เค้าโครงเรื่องของละครที่นำมาแสดงส่วนใหญ่คือเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเป็นเทพนิยายในศาสนาฮินดู ตัวละครจะแต่งกายด้วยผ้าปาติก ไม่สวมเสื้อชั้นนอก ใช้สีทาตัวเป็นสีต่าง ๆ ประดับด้วยสร้อยสังวาลย์ นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังมีการละเล่นอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า วายัง หรือหนังตะลุง เป็นที่นิยมกันมาก เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่เป็นนิยายเกี่ยวกับเรื่องสงครามในศาสนาฮินดู

เด็กหญิงวราภรณ์ ลาชมภู เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 จัดทำโดย เด็กหญิงวราภรณ์ ลาชมภู เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5